Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเคารพ, เคารพ, ความ , then ความ, ความเคารพ, คารพ, เคารพ, เคารว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเคารพ, 3743 found, display 301-350
  1. กุชฺฌนา : (อิต.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  2. กุฏจริยา : (อิต.) ความประพฤติคด, ฯลฯ.
  3. กุฏิลตา : อิต. ความคด, ความโกง
  4. กุฏิลภาว : ป. ความเป็นคนโกง, ความเป็นผู้มีนิสัยโกง
  5. กุตฺต : นป. สิ่งที่ถูกทำขึ้น; ความประพฤติ; อากัปกิริยา, กิริยาอาการที่มีเสน่ห์
  6. กุติตฺถ : นป. ทำผิด, ลัทธิผิด, ความเห็นผิด
  7. กุตูหล : ป., นป. ความโกลาหล, ความแตกตื่น, ความตื่นเต้น
  8. กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ  ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ   ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
  9. กุทฺธ : (ปุ.) ความโกรธ, ความเคือง. กุธฺ โกเป, โต.
  10. กุทิฏฐิ : อิต. ความเห็นชั่ว, ความเห็นผิด, มิจฉาทิฐิ
  11. กุปฺปน : นป. ความโกรธ, ความเคือง, ความกำเริบ, ความสะเทือน
  12. กุมติ : (อิต.) ความรู้อันบัณฑิตเกลียด. กุจฺฉิต+มติ.
  13. กุมตี : (ปุ.) คนพาล (ผู้มีความรู้อันบัณฑิตเกลียด) อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  14. กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
  15. กุรุจิ : (ปุ.) หม้อข้าว. กุร+อุจฺ ธาต์ในความรวบรวม อิ ปัจ.
  16. กุลธีตุ : (อิต.) ธิดาแห่งตระกูล, ลูกหญิงผู้มีตระกูล, ลูกสาวผู้มีตระกูล, กุลธิดา. หมายถึงลูกของผู้มีสกุลดี หรือลูกสาวที่ รักษาความเป็นลูกผู้หญิงที่ดี มีมารยาทดี.
  17. กุลมจฺฉริย : นป. ความตระหนี่ตระกูล, ความหวงแหนตระกูล
  18. กุลฺลกวิหาร : ป. วิหารธรรมตื้นๆ , ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างง่ายๆ, ความเป็นอยู่อย่างธรรมดา
  19. กุลุส : (นปุ.) โทษ, ความชั่ว, ความเดือดร้อน, บาป. ดู กลุส.
  20. กุวิตกฺก : ป. ความตรึกผิด, ความคิดผิด
  21. กุสลกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นความดี, ฯลฯ, กุศลกรรม. ส.กุศลกรฺม กุศลกรฺมฺม.
  22. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  23. กุสลจิตฺต : นป. กุศลจิต, จิตที่เป็นกุศล, ความคิดที่ดี
  24. กุสลเจตนา : อิต. กุศลเจตนา, เจตนาที่เป็นกุศล, ความตั้งใจดี
  25. กุสลตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาด, ความชำนาญ
  26. กุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความดี, ฯลฯ.
  27. กุสลวิตกฺก : ป. กุศลวิตก, ความตรึกที่เป็นกุศล
  28. กุสลสีล : นป. ศีลอันเป็นกุศล, ความประพฤติดี
  29. กุสลานุเอสี : ค. ผู้แสวงหากุศล, ผู้แสวงหาความดี
  30. กุสิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นดุจหญ้าคา, ผู้เกียจตร้าน. กุสปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. ผู้จมอยู่โดยอาการอันบัณฑิตพึงเกียด. กุจฺฉิต+สิต.
  31. กุสีตตา : อิต., กุสิตตฺต นป. ความเป็นคนเกียจคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา
  32. กุห กุหึ : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ใน ที่ไหน, ในที่ไหนๆ. (สำหรับประโยคที่ เนื้อความเป็ยพหุ.)
  33. กุหณา กุหนา : (อิต.) การหลอก, ฯลฯ, ความหลอก, ฯลฯ. ส.กุหน.
  34. กุหนาวตฺถุ : นป. กุหนาวัตถุ, วัตถุเป็นที่ตั้งแห่งความหลอกลวง, เรื่องที่จัดว่าเป็นการหลอกลวง
  35. กูเฏยฺย : นป. ความโกง, ความหลอกลวง
  36. เกตุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ ดังธงนำหน้า, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต ใคร่ดังธงนำหน้า, ความเป็นผู้มีจิตใคร่ดัง ธงนำหน้า.
  37. เกราฏิย : นป. ความคดโกง, ความหลอกลวง
  38. เกลิ : อิต. ความสนุกสนาน, การเล่นกีฬา
  39. เกลิ เกฬิ : (นปุ.) ความเยาะเย้ย. กีฬฺ วิหาเร, ณิ.
  40. เกสกลฺยาณ : นป. ความงามแห่งผม
  41. เกสโสภา : อิต. ความงามแห่งผม, ผมงาม
  42. เกฬนา : อิต. ความอยาก, ความปรารถนา, ความโลภ
  43. เกฬายน : นป. ความปรารถนาจะเล่น, ความอยากเล่น
  44. โกฏิลฺล : นป. ความคดโกง
  45. โกตฺถ โกตฺถุ : (ปุ.) หมาจิ้งจอก วิ. กุสติ เถรวนาทตฺตาติ โกตฺโถ โกตฺถุ วา. กุสฺ ธาตุในความเห่า ถ ถุ ปัจ. แปลงเป็น ตฺถ ตถุ ลบ สฺ หรือแปลง สฺ เป็น ตฺ ไม่แปลง ปัจ.
  46. โกตุก : นป. แหวนแต่งงาน; ความประหลาดใจ
  47. โกตูหล, - หฬ : นป. ความอึกทึก, ความครึกโครม
  48. โกธ : (ปุ.) ความกำเริบ, ความเคือง, ความโกรธ, ความโกรธขึ้ง, ความขึ้งเคียด, ความดุร้าย, ความโหดเหี้ยม, ความจำนงภัย. วิ. กุชฺฌนํ โกโธ. คนผู้โกรธ, คนโกรธ. กุชฺฌตีติ โกโธ. กุธฺ โกเป, โณ.
  49. โกธครุ : ค. ผู้หนักในความโกรธ, ผู้มักโกรธ
  50. โกธน : (นปุ.) ความกำเริบ, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3743

(0.0557 sec)