Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเคารพ, เคารพ, ความ , then ความ, ความเคารพ, คารพ, เคารพ, เคารว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเคารพ, 3743 found, display 701-750
  1. ชารตฺตน : นป. ความเป็นชู้, ความมีชู้, ความคบชู้
  2. ชาลตณฺหา : อิต. ข่ายคือตัณหา, อำนาจความอยาก, ความดิ้นรน
  3. ชาลา : (อิต.) ความรุ่งเรือง, ความสว่าง, ไฟ, เปลวไฟ, โคมไฟ. วิ. ชลตีติ ชาลา. ชลฺ ทิตฺติยํ, โณ. ชลฺ อปวารเณ วา. ชิ อภิเวชิเต วา, โล. วิการ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา.
  4. ชิคจฺฉา : อิต. ความอยาก, ความหิว, ความกระหาย
  5. ชิคจฺฉา ชิฆจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาเพื่อ อันกิน, ความปรารถนาเพื่อจะกิน, ความอยากจะกิน, ความอยากข้าว, ความอยาก, ความหิว. วิ. ฆสิตุ มิจฉา ชิฆจฺฉา. ฆสฺ อทเน, โฉ, อิจฺฉตฺเถ โฉ. เทวภาวะ ฆ แปลง สฺ เป็น จฺ ศัพท์แรก แปลง ฆ เป็น ค รูปฯ ๕๘๓. ส. ชิฆตฺสา.
  6. ชิคึสนตา, ชิคึสนา, ชิคึสา : อิต. ความอยากได้, ความต้องการ, ความปรารถนา, ความโลภ
  7. ชิคุจฺฉน : (นปุ.) ความติเตียน,ฯลฯ
  8. ชิคุจฺฉา : (อิต.) ความติเตียน,ฯลฯ
  9. ชิฆจฺฉา : อิต. ความหิว, ความอยาก
  10. ชิฆจฺฉาปรม : (วิ.) มีความหิวเป็นอย่างยอด.
  11. ชิฆจฺฉิต : (วิ.) ผู้มีความปรารถนาเพื่ออันกิน เกิดแล้ว วิ. ชิฆจฺฉา สญฺชาตา ยสฺส โส ชิฆจฺฉิโต ชิฆจฺฉา ศัพท์ ต ปัจ. อิ อาคม.
  12. ชิณฺณตา : อิต. ความชรา, ความแก่, ความทุพพลภาพ
  13. ชิต : ๑. นป. ความชนะ; ๒. ชนะแล้ว, มีชัยแล้ว, ปราบปรามได้แล้ว
  14. ชิตตฺต : ๑. นป. ความมีชัย, ความชนะ; ๒. ค. ผู้มีตนชนะแล้ว, ผู้ชนะตนแล้ว
  15. ชิติ : (อิต.) ความชนะ, ความมีชัย. ชิ ชเย, ติ.
  16. ชิน : (ปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความเสื่อม สิ้น, ความย่อยยับ. ชิ ชานิยํ, อิโน. ผักชี ล้อม ก็ แปล.
  17. ชิเนนฺท : (ปุ.) พระพุทธเจ้า (เป็นจอมแห่งความชนะ).
  18. ชิมฺหตา : อิต. ความคดโกง, ความไม่ซื่อ
  19. ชิมฺเหยฺย : นป. ความคด, ความหลอกลวง, ความฉ้อโกง
  20. ชิรณ ชีรณ : (นปุ.) ความแก่, ฯลฯ. ยุปัจ.
  21. ชิวฺหาปสาท : ป. ชิวหาประสาท, ความรับรู้รส
  22. ชิวฺหาวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกทางลิ้น, ความรับรู้รส
  23. ชิวฺหาสมฺผสฺส : ป. การกระทบด้วยลิ้น, ความสัมผัสทางลิ้น
  24. ชีรณ : (นปุ.) ความแก่, ฯลฯ ชรฺ ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง อ เป็น อี. ส. ชีรฺณ.
  25. ชีรณตา : อิต. ความเป็นคืออันชรา, ความชรา, ความเก่าแก่, ความคร่ำคร่า, ความเสื่อม, ความทุพพลภาพ
  26. ชีว : (ปุ.) อาตมะ, อาตมัน, พระพฤหัสบดี, สัตว์, ชน, คน, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิต อยู่, ความเกิด, ชีพ (ความเป็นอยู่). ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ส. ชีว.
  27. ชีวน : (นปุ.) น้ำ, ความเป็นอยู่, ความเลี้ยง ชีวิต, การเลี้ยงชีวิต. ชีวฺ+ยุ ปัจ. ส. ชีวน.
  28. ชีวิกา : (อิต.) ความเป็น, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิตอยู่. การเลี้ยงชีวิต ( มีกสิกรรมเป็น ต้น ). ชีวฺ+ณฺวุ ปัจ. อิอาคม อาอิต.
  29. ชีวิต : (นปุ.) ความเป็น, ความเป็นอยู่, อายุ, ชีวิต, ชีวัน, ชีวิตินทรีย์. ชีวฺ+ตปัจ.อิอาคม.
  30. ชีวิตกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งชีวิต, ชีวิตักษัย, ตักษัย ( ใช้ในบทกลอน ).
  31. ชีวิตตกปฺปนา : (อิต.) การจัดแจงชีวิต, ความคิด ในการดำรงค์ชีวิต, การเลี้ยงชีวิต.
  32. ชีวิตนิกนฺติ : อิต. ความห่วงใยในชีวิต
  33. ชีวิตปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่ง ชีวิต, การสิ้นสุดชีวิต, ความสิ้นสุดชีวิต.
  34. ชีวิตมท : ป. ความมัวเมาในชีวิต, ความหยิ่งในชีวิต, ความหลงในชีวิต
  35. ชีวิตวุตฺติ : อิต. ความเป็นไปแห่งชีวิต, ความเป็นอยู่, การดำรงชีพ
  36. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  37. ชีวิตเหตุ : ก. วิ. เหตุแห่งชีวิต, เหตุแห่งความเป็นอยู่, เพื่อความเป็นอยู่
  38. ชีวิตาสา : อิต. ความหวังในชีวิต, ความต้องการเป็นอยู่
  39. ชีวิตินฺทฺรย ชีวินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นอยู่, อินทรีย์ คือชีวิต, อายุ, ชีวิต, ชีวิตินทรีย์ ได้แก่ เจตสิกที่เป็นใหญ่ในการรักษานาม ธรรม.
  40. ชีวิตินฺทฺริย : นป. ชีวิตินทรีย์, ความเป็นใหญ่แห่งชีวิต, กำลังแห่งชีวิต, ความสำคัญแห่งชีวิต, อินทรีย์คือชีวิต
  41. ชีวี : (วิ.) มีความเป็นอยู่, มีชีวิตอยู่, ชีวศัพท์ อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  42. ชุณฺหา : (อิต.) รัศมีพระจันทร์, แสงจันทร์. วิ. ชุติ อสฺสาตฺถีติ ชุณฺหา. ชุติศัพท์ ห ปัจ. แปลง อิ เป็น อ แปลง ต เป็น ณ. จนฺทสฺส ชุตึ โสภํ นยฺหติ พนฺธตีติ วา ชุณฺหา. คืน เดือนหงาย, วันดือนหงาย. ชุต (นปุ.?) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ+อ ปัจ.
  43. ชุติ : (อิต.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง, ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ+อิ ปัจ.
  44. ชุติก : ค. มีแสงสว่าง, มีความสดใส
  45. ชุติมตา : อิต. ความสุกใส, ความรุ่งเรือง
  46. ชุติมนฺตุ : (ปุ.) คนมีความรุ่งเรือง, ฯลฯ.
  47. เชคุจฺฉิตา : อิต. ความไม่พอใจ, ความสะอิดสะเอียน
  48. โชตน : (วิ.) ผู้รุ่งเรืองโดยปกติ, ผู้มีความรุ่งเรือง , ฯลฯ. รูปฯ ๕๗๕.
  49. โชติก : (วิ.) ผู้มีความรุ่งเรือง, ฯลฯ, โชดึก.
  50. โชติปรายน : ค. มีความสว่างหรือรุ่งเรืองเป็นเบื้องหน้า, มีอนาคตแจ่มใส, มีอนาคตรุ่งโรจน์
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | [701-750] | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3743

(0.1242 sec)