Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 2001-2050
  1. ตินฺติณาติ, - ติณายติ : ก. ป่วย, เป็นลม
  2. ติโยชนสตปริมณฺฑล : (วิ.) มีร้อยแห่งโยชน์ สามเป็นปริมณฑล, มีปริมณฑลสามร้อย โยชน์.
  3. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  4. ติริย : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขว้าง, โดยกว้าง, โดยเบื้องขวาง, ใน เบื้องขวาง. รูปฯนามกัณฑ์ว่าเป็น สัตตมิยัตถนิบาต.
  5. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  6. ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตวตฺถจฺฉาทนาทิปุณฺณ : (วิ.) อันเต็มแล้วด้วยวัตถุ มีงาและข้าว สารและเนยใสและน้ำอ้อยและวัตถุเป็น เครื่องปกปิด มีผ้าเป็นต้น.
  7. ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
  8. ติสรณคมนุปสฺปทา ติสรณคมนูปสมฺปทา : (อิต.)การอุปสมบทด้วยการถึงสรณะสาม, ติสรณคมนุปสัมปทา ติสรณคมนูปสัมปทา คือการอุปสมบทด้วยการปกิญญาณตน ถึงไตรสรณคมน์ เป็นชื่อของวิธีอุปสมบท อย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่าง เมื่อพระพุทธเจ้า ทรงอนุญาต วิธีอุปสมบทอย่างที่ ๓ แล้ว ทรงอนุญาตวิธีอย่างที่ ๒ นี้เป็นวิธี บรรพชาการบวชเป็นสามเณร.
  9. ตีห : ก. วิ. สิ้นสามวัน, ตลอดสามวัน, เป็นระยะเวลาสามวัน
  10. ตุฏฺฐปณฺฑิต : (ปุ.) ดุษฏีบัณฑิต เป็นคำเรียก ผู้ที่สอบได้ปริญญาเอกของสถานที่ศึกษา ชั้นอุดมศึกษา. ส. ตุษฺฏิปณฺฑิต.
  11. ตุฏฺฐภาวมงฺกุภาววส : (ปุ.) ความสามารถ แห่งความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีและความเป็นแห่งบุคคลผู้เก้อ, สามารถแห่งความเป็นผู้ยินดีและความเป็นผู้เก้อ.
  12. ตุณฺหีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความนิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ความเป็น ผู้นิ่ง. วิ. ตุณฺหิสฺส ภาโว ตุณฺหีภาโว. ตุณฺหี ภวนํ วา ตุณฺหีภาโว. ไทยใช้ ดุษณีภาพ หมายถึง อาการนิ่งที่แสดงอาการยอมรับ.
  13. ตุณฺหีภูต : (วิ.) เป็นผู้มีความนิ่งเป็นแล้ว, เป็นผู้นิ่งเป็นแล้ว.
  14. ตุนฺน : (วิ.) ชุน, เย็บ, ด้น ( เย็บเป็นฝีเข็มขึ้น ลง). ตุทฺ วฺยถเน, โน, ทสฺส โน.
  15. ตุมฺห : (ปุ. อิต.) เจ้า, ท่าน, สู, เอง, มึง, พระ คุณเจ้า, พระคุณท่าน, มหาบพิตร, มหา- บพิตรพระราชสมภารเจ้า, ฯลฯ. ลูกพูดกับ พ่อแม่ แปลว่า พ่อ, แม่, คุณพ่อ, คุณแม่. ยังมีคำแปลอีกมากใช้ยักย้ายให้เหมาะสม กับฐานะของบุคคล ตุมฺหศัพท์เป็นบุรุษที่ ผู้พูดพูดกับคนใด ใช้สำหรับคนนั้น แจกรูปเหมือนกันทั้งสองลิงค์.
  16. ตุลาการ : (ปุ.) ตุลาการ ชื่อบุคคลผู้ทำหน้าที่ตัดสินคดี, ชนผู้สร้างความเป็นธรรมแก่สังคม.
  17. ตุลาคม : (ปุ.) ตุลาคม ชื่อเดือนที่ ๗ ตาม สุริยคติ นับเมษายนเป็นต้นปี ถ้านับ มกราคม เป็นต้นปี ก็เป็นเดือนที่ ๑๐.
  18. ตุวฏ : (วิ.) รีบ, เร็ว, รวดเร็ว, พลัน, ด่วน. วิ. ตุริตภาวเน วฏฺฏตีติ ตุวฏํ. ตุริตปุพฺโพ. วฏฺฏฺอาวตฺตเน, อ, ริตโลโป, สํโยคโลโป จ. อภิฯ ตั้ง ตุวฏฺฏ ธาตุ ในความนอน ด้วย?เป็น ตุวฏฏ โดยไม่ลบ สังโยคบ้าง.
  19. เตจีวริก : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งไตรจีวรเป็นวัตร. โมคฯ ณาทิกัณฆ์ ๗๒ วิ. ติจีวรธารณํ สีลมสฺสาติ เตจีวริโก (ภิกฺขุ). รูปฯ ๓๖๐ วิ. ติจีวรธารณํ ตีจีวรํ. ตํ สีล มสฺสาติ เตจีวริโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  20. เตชกสิณ : นป. การเพ่งกรรมฐานมีไฟเป็นอารมณ์
  21. เตตฺตึส : (วิ.) (ที่) เป็นที่เกิดของเทวดาสาม สิบสององค์ วิ. เตตฺตึส เทวตา นิพฺพตฺตนฺติ เอตฺถาติ เตตฺตึส.
  22. เตภูมิก : ค. อันมีภูมิสาม, อันเป็นไปในภูมิสาม, มีสามขั้น
  23. เตภูมิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นไปในภูมิสาม.
  24. เตภูมิกวฏฺฏสขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่า วัฏฏะอันเป็นไปในภูมิสาม.
  25. เตมาสจตุมาสจฺจย : (วิ.) เป็นที่ไปล่วงแห่ง หมวดแห่งเดือนสามและหมวดแห่งเดือนสี่, สิ้นไปสามสี่เดือน.
  26. เตมิย : (ปุ.) พระเตมิยะ พระเตมีย์ พระนาม ของพระโพธิสัตว์ คือ อดีตชาติของพระ สมณโคดม เป็นชาติที่ ๑ ในทศชาติ.
  27. เตลนาฬิ : (อิต.) ทะนานแห่งน้ำมัน, น้ำมันมี ทะนานเป็นปริมาณ, น้ำมันมีทะนานหนึ่ง เป็นประมาณ.
  28. เตลิก : (วิ.) ระคนด้วยงา วิ. ติเลน สํสฏฺฐํ เตลิกํ. มีน้ำมันเป็นสินค้า. วิ. เตลํ อสฺส ภณฺฑนฺ เตลิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  29. เตลิย : ค. อันเป็นมัน, มีมันมาก
  30. : (ปุ.) ภูเขา, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง, ความต้านทานภัย, มงคล. อุ. ถตฺถํ วิหิต- ปณาโม ประณามอันข้าฯตั้งไว้แล้วเพื่อ ความเป็นมงคล. ถุ คติเถริเยสุ. อ. ส. ถ.
  31. ถริ : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, ตั้งมั่น, ยั่งยืน, แข็ง, แข็งแรง, คงที่. ฐา ถา วา คตินิวุตติยํ, อิโร. ถ้าตั้ง ฐา ธาตุ ก็แปลงเป็น ถา.
  32. ถรุ : (ปุ.) ด้าม เช่นด้ามกระบี่เป็นต้น วิ. ตรตีติ ถรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ, ตสฺส โถ, อถวา, ถรฺ สตฺถคติยํ, อุ. ถรุ เป็นชื่อของอาวุธทั่วๆ ไปก็มี เพลงอาวุธ ก็แปล.
  33. ถาวเรยฺย : นป. ความเป็นผู้มั่นคง, ความเป็นเถระ
  34. ถิรช ถีรช : (ปุ. นปุ.) เกสรของหญิง,ประจำเดือนของหญิง,โรคประจำเดือนของหญิง,ระดูของหญิง.
  35. ถูณ : (ปุ.) เสา, หลัก, หลักเป็นที่บูชายัญ. วิ. อภิตฺวียฺตีติ ถูโณ. ถุ ถู วา อภิตฺถเว, อูโณ. ธรฺ ธารเณ วา, ยุ, รฺโลโป, ธสฺส โถ, อสฺสุตฺตํ, ทีโฆ จ. ไม่ทีฆะเป็น ถุณ บ้าง.
  36. ถูปิกต, - ปึกต : ค. ซึ่งถูกทำให้เป็นยอด, ซึ่งพูนล้น (บาตร)
  37. ถูลตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของหนา, ความเป็นของหนา. ถูล+ตฺต ปัจ.
  38. เถยฺยจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบด้วยความเป็น แห่งขโมย, จิตประกอยด้วยความเป็น ขโมย, จิตเครื่องความเป็นขโมย, เถยยจิต ไถยจิต (จิตคิดจะลัก).
  39. เถยฺยเจตนา : (อิต.) ความตั้งใจประกอบด้วย ความเป็นแห่งขโมย. ฯลฯ, ความตั้งใจ ขโมย, เถยยเจตนา ไถยเจตนา (เจตนา ในการเป็นขโมย).
  40. เถยฺยสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมโดยความเป็น แห่งขโมย, การอยู่ร่วมโดยความเป็นขโมย, การลักเพศ (การแต่งตัวให้ผิดไปจาก เพศเดิม เช่น ปลอมบวชเป็นสมณะ).
  41. เถยฺยสวาสก : (ปุ.) คนลักเพศ. คนลักเพศ คือคนที่ปลอมบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือคนที่บวชเอาเอง หรือภิกษุสามเณร ที่ทำผิดวินัยถึงขาดจากความเป็นบรรชิต แต่ยังครองผ้ากาสาวพัตรอยู่.
  42. เถยฺยา : (อิต.) กิริยาแห่งความเป็นขโมย, เจตนาแห่งความเป็นขโมย.
  43. เถยฺยาวหาร : (ปุ.) อวหารแห่งความเป็นขโมย, อวหาร คือความเป็นขโมย วิ. เถยฺยํ เอว อวหาโร เถยฺยาวหาโร.
  44. เถรก : ค. (ผ้า) มีเนื้อหยาบ (บางแห่งเป็นเถวก, โจรก, หรือ โธรก )
  45. เถวติ : ก. ส่องแสง, เป็นประกายดุจหยาดน้ำ, สุกแดงเรื่อๆ
  46. ทกฺขตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาดสามารถ, ความชำนาญ, ความคล่องแคล่ว
  47. ทกฺขิณนิกาย : (ปุ.) นิกายฝ่ายใต้, ทักษิณ นิกายชื่อนิกายสงฆ์ฝ่ายใต้ ( เอาแคว้นมคธ ของชมพูทวีป ( อินเดีย ) เป็นศูนย์กลาง การนับ ) คือนิกายหินยาน ( หีนยาน ) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เถรวาท. ดู เถรวาท ด้วย.
  48. ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
  49. ทกฺขิณายน : (นปุ.) ทักขิณายน คือการที่พระ อาทิตย์เป็นไปสู่ทิศใต้ ( ตามสายตาของ ชาวโลก ) วิ. ทกฺขิณํ ทิสํ อยติ สุริโย เอตฺถาติ ทกฺขิณายนํ. ทกฺขิณาปุพฺโพ, อยฺ คติยํ, ยุ.
  50. ทกฺขิเณยฺยเขตฺต : นป. เนื้อนาบุญอันควรซึ่งทักษิณา, บุคคลผู้เป็นดุจเนี้อนาที่ควรนำไทยธรรมมาถวาย
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | [2001-2050] | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.2206 sec)