Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นหนี้, เป็น, หนี้ , then ปน, ปนหน, เป็น, เป็นหนี้, หน, หนี้ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นหนี้, 4489 found, display 3801-3850
  1. อสฺสม : (ปุ.) ประเทศเป็นที่มารำงับความโกรธ.วิ. อา โกธํสเมนฺติเอตฺถาติอสฺสโม.ประเทศเป็นที่ยังราคาทิกิเลสให้ระงับวิ.อาภุโสสเมนฺติ ราคาทโย เอตฺถาติ อสฺสโม.อาปุพฺโพ, สมุ อุปสเม, อ, อาสฺสรสฺโส, สสฺสทฺวิตฺตํ.อาศรม (ที่อยู่ของฤาษี ที่อยู่ของนักพรต) วิ. มุนีนํอิสีนํวสนฏฺฐานํอสฺสโมนาม. บุคคลผู้ประพฤติพรหมจรรย์พรหมจารีบุคคล.ส.อาศฺรม.
  2. อสฺสมปท : (นปุ.) สถานที่เป็นที่ไปของบุคคลผู้ระงับความโกรธ, ฯลฯ, อาศรมบท.
  3. อสฺสามิก : (วิ.) ไม่มีบุคคลเป็นเจ้าของ, ไม่มีเจ้าของ.
  4. อสาขลฺย : นป. ความไม่มีเพื่อน, ความไม่เป็นเพื่อน
  5. อสาต : ๑. นป. ความทุกข์, ความเจ็บปวด ; ๒. ค. ไม่เป็นที่พอใจ, ไม่สบอารมณ์
  6. อสามญฺญ : ค. ไม่มีส่วนแห่งสามัญญผล, ไม่มีส่วนแห่งความเป็นสมณะ
  7. อสิทนฺต : ป. สัตว์มีฟันเป็นดาบ, จระเข้
  8. อสิปาส : ค. มีดาบเป็นบ่วง (เทวดาจำพวกหนึ่ง)
  9. อสิโลม : ค. มีขนเป็นดาบ, มีขนคมเหมือนดาบ
  10. อสุ : (ปุ.) ชีวิต, ลมหายใจ. อสติ เยนาติ อสุ. อสฺปาณเน, อุ. อสติ ปวตฺตติ สตฺโต เอเตนาติวา อสุ.อสุ เขปเน, อุ. รูปฯ๖๓๕ ลงณุปัจ.ไม่ทีฆะ. ทีฆะ เป็นอาสุ บ้าง. ส. อสุ.
  11. อสุจิเชคุจฺฉปฏิกฺกูล : (วิ.) อันเป็นปฏิกูลทั้งไม่สะอาดทั้งน่าเกลียด.
  12. อสุภกมฺมฏฺฐาน : นป. อสุภกรรมฐาน, กรรมฐานมีอารมณ์ว่ากายนี้เป็นของไม่งาม
  13. อสุภภาวนา : อิต. การบริกรรมว่าไม่งาม, การพิจารณาว่าร่างกายเป็นของน่าเกลียด
  14. อสุภานุปสฺสี : ค. ผู้มีปกติเห็นว่าร่างกายเป็นของไม่งาม
  15. อสุร : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่รุ่งโรจน์ในความเป็นอยู่, อมนุษย์, มาร, ปีศาจ, อสูร (อมนุษย์พวกหนึ่งซึ่งเป็นข้าศึกแก่เทวดา).
  16. อสุรกาย : (ปุ.) อสุรกายชื่อของสัตว์ผู้เกิดในอบายพวก ๑ ใน ๔พวก เป็นพวกที่ ๔.
  17. อสุราต : ค. ไม่ได้หมัก, ยังไม่เป็นสุรา
  18. อเสจน, - นก : ค. ไม่ระคนกัน, เป็นที่ชื่นชมยินดี, มีเสน่ห์
  19. อโสณฺฑ : ค. ผู้ไม่เมา, ผู้ไม่เป็นนักเลงสุรา
  20. อโสณฺฑี : อิต. ผู้ไม่เมา, ผู้ไม่เป็นนักเลงสุรา
  21. อโสตต : นป. ความเป็นผู้ไม่มีหู
  22. อหงฺการ : ป. การถือตัวเป็นใหญ่, การทะนงตัว
  23. อหมหมิกา : (อิต.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความอหังการ.โบราณแปลว่าอภิมานะเป็นที่กระทำว่าเราว่าเรา.อหํอหํศัพท์อิกปัจ.วิ. อหํอคฺโคภวามิอหํอคฺโคภวามี-ติอหมหมิกา.
  24. อเหตุกทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าไม่มีเหตุ, ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าคนเราจะได้ดีหรือว่าได้ร้าย เป็นไปตามเคราะห์ดีหรือเคราะห์ร้ายถึงคราวเคาะห์ดีก็ดีได้เองถึงคราวเคราะห์ร้ายก็ร้ายได้เองจัดเป็นอเหตตุกทิฏฐิ.
  25. อโหรตฺต : (ปุ. นปุ.) วันและคืน, วันคืน.วิ. อโหจรตฺติจอโหรตฺโต.อภิฯ.อหญฺจรตฺติจอโหรตฺตา.อถวา, อหญฺจรตฺติจอโหรตฺตํ.รูปฯ ๓๔๕. เอาอที่อหเป็นโอเอาอิที่รตฺติเป็นอ.
  26. อโหสิ : ก. ได้เป็นแล้ว, ได้มีแล้ว
  27. อฬาร : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด.วิ.อลตีติอฬารํ.อลฺพนฺธเน, อโร.แปลงลเป็น
  28. อากฺขยายิกอาขฺยายิก : (ปุ.) อาขยายิกศาสตร์ศาสตร์ว่าด้วยจริยาเป็นต้น.อภิฯเป็นอิต.
  29. อาการ : (ปุ.) การทำยิ่ง, ความทำโดยยิ่ง, มรรยาทเครื่องทำโดยยิ่ง, ความเป็นอยู่, การณะ, สัณฐาน, ส่วน, ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, วิธี, ทำนอง, ท่าทาง.วิ.อากรณํอากาโร.ส.อาการ.
  30. อากาสานญฺจ : (นปุ.) อากาศไม่มีที่สุด.อากาสา-นนฺต+ณฺยปัจ.ภาวตัท.ลบอที่ตเหลือเป็นตฺลบณฺรวมเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจแปลงนฺเป็นนิคคหิตแปลง นิคคหิตเป็นญฺรูปฯ ๔๑, ๓๗๑.
  31. อากาสานนฺต : (วิ.) มีอากาศเป็นที่สุดหามิได้, ไม่มีอากาศเป็นที่สุด.
  32. อากิญฺจญฺญายตน : นป. อากิญจัญญายตนะ, ฌานที่มีการคำนึงว่าไม่มีอะไรเป็นอารมณ์, สภาวะแห่งความไม่มีอะไร
  33. อาคนฺตุ : (ไตรลิงค์) แขก(คนผู้มาหา).วิ.อา-คจฺฉตีติอาคนฺตุ.อาปุพฺโพ, คมฺคมเน, ตุ.แปลงมฺเป็นนฺ.ส.อาคานฺตุ.
  34. อาคนฺตุกภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้จรมา
  35. อาคม : (ปุ.) การมา, การมาถึง, นิกายเป็นที่มา, นิกายเป็นที่มาแห่งมรรคและผล, บาลี, พระบาลี, อาคม (การมาของอักษรคือการลงอักษรเป็นวิธีของบาลีไวยากรณ์อย่างหนึ่งศาสตร์ คัมภีร์มนต์ เวทมนต์).วิ.อาคมนํอาคโม.ส.อาคม.
  36. อาคมนกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่มา, กาลเป็นที่มา.
  37. อาคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, คฤหัสถ์. อคาร+ณิกปัจ.แปลงกเป็นเป็นอาคาริยบ้าง.
  38. อาคาริย : (วิ.) ผู้มีการงานอันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เรือน.
  39. อาคุ : (นปุ.) ความชั่ว, บาป, วิ. อาคนฺตพฺพํคจฺฉติเอเตนาติอาคุ. อา ปีฬนํคจฉตีติ วาอาคุ. อาปุพฺโพคมฺคติยํ, ณุ, มฺโลโป. ความผิด, โทษ. วิ. อปคจฺฉติอเนนาติอาคุ.อปบทหน้าลบปทีฆะอเป็นอา.
  40. อาฆาตน : (นปุ.) ที่เป็นที่นำมาฆ่า, สถานที่ฆ่า, สถานที่สำหรับฆ่า, ตะและแกง (ที่เป็นที่นำมาฆ่าที่สำหรับฆ่านักโทษ)วิ.อาคนฺตวาฆาเตนฺติยสฺมึตํอาฆาตนํ.อาโกธวเสนสตฺเตฆาเตติเอตฺถาติอาฆาตนํ.อาอักษรเป็นไปในความโกรธ.ส.อาฆาตน.
  41. อาจริย : (ปุ.) อาจารย์ วิ. สิสฺสานํหิตมาจรตีติอาจริโย.อนฺเตวาสิกานํหิตํมุเขนอาจรติปวตฺตตีติวาอาจริโย (ผู้ประพฤติเอื้อเฟื้อแก่ศิษย์).อาทิโตปฏฺฐายจริตพฺโพอุปฎฺ-ฐาตพฺโพติ วาอาจริโย (ผู้อันศิษย์พึงบำรุงตั้งแต่แรก).อาทเรนจริตพฺโพติ วาอาจริโย(ผู้อันศิษย์พึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ). อาปุพฺโพ, จรฺจรเณอุปฏฺฐาเน วา, โย, อิอาคโม.แปรเป็นอาเจรบ้าง. รูปฯ๖๓๘.ส.อาจรฺย.
  42. อาจริยา : (อิต.) อาจารย์หญิง, หญิงผู้เป็นอาจาย์เป็นอาจรินี โดยลบยลงอินีปัจ. อิต. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๓๒.
  43. อาจาม : (ปุ.) ข้าวตัง.คือข้าวสุกที่ติดเป็นแผ่นเกรียมอยู่ที่ก้นหม้อหรือกะทะ.อาปุพฺโพ, จมุอทเน, โณ.
  44. อาจาริณี : อิต. ครู – อาจารย์เป็นผู้หญิง ; ภรรยาของอาจารย์
  45. อาจิณ, - จิณฺณ : กิต. ประพฤติจนเป็นนิสัยแล้ว, ทำจนเป็นนิสัยแล้ว
  46. อาจิณฺณอาจิณฺณกมฺม : (นปุ.) อาจิณณกรรมคือกรรมที่ทำเสมอ ๆ เนือง ๆ บ่อย ๆ. วิ.อาจียติ ปุนปฺปุนํกรียตีติอาจิณฺณํ. อาปุพฺโพจิจเย, โต.แปลงตเป็น อิณฺณไทยใช้อาจิณเป็นวิเศษในความว่าเป็นปกติเนือง ๆบ่อย ๆ เสมอ.
  47. อาเจร : (ปุ.) อาจารย์.แปลงอาจริยเป็น อาเจร.รูปฯ ๖๓๘.
  48. อาชฺชว : นป. ความซื่อตรง, ความเป็นคนตรง
  49. อาชานียตา : อิต. ความเป็นผู้เกิดมาจากตระกูลที่ดี, ความเป็นผู้ประเสริฐ
  50. อาชีว : (ปุ.) ความเป็นอยู่, การเลี้ยงชีพ, การเลี้ยงชีวิต, อาชีพ(การทำมาหากิน), ธรรมเป็นที่มาเป็นอยู่. วิ.อาชีวนํอาชีโว.อาชีวติเอเตนาติอาชีโว.อาปุพฺโพ, ชีวฺปาณธาร-เณ, อ.ส.อาชีว.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | [3801-3850] | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4489

(0.1713 sec)