Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ค้ำ , then คำ, ค้ำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ค้ำ, 475 found, display 51-100
  1. กพฬ : ป. คำข้าว
  2. กมฺมวาจา : (อิต.) กรรมวาจา คือคำกล่าว แสดงงานที่สงฆ์จะต้องทำ คำประกาศกิจ การในท่ามกลางสงฆ์ในพิธีของสงฆ์. ส. กรฺมวาจา.
  3. กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
  4. กวฺย : นป. กาพย์, คำประพันธ์ชนิดร้อยกรอง
  5. กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
  6. กวี : (ปุ.) คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงยินดี โดยปกติ วิ. กวติ กมิตพฺพวจนํ สีเลนาติ กวี. คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงรักโดย ปกติ วิ. กวติ เปมนียวจนํ สีเลนาติ กวี. กุ สทฺเท, ณี. ตั้ง วิ. ได้อีก.
  7. กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
  8. กายบริหาร : (ปุ.) การรักษาร่างกาย, การดูแลร่างกาย. คำกายบริหาร ไทยใช้ในความหมายว่า การบำรุงร่างกาย การออกกำลัง เพื่อรักษาร่างกาย.
  9. กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิดในกาล, กาลจีวร คือ ผ้าที่เกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในกาลที่ทรงอนุญาต ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินเลื่อนไปถึง กลางเดือน ๔.
  10. กาเวยฺย : นป. กาพย์, กลอน, คำโคลง
  11. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  12. กาฬปกฺข : (ปุ.) ข้างดำ, ฝ่ายดำ, ข้างแรม (ส่วนของเดือนทางจันทรคติ ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ ถึงสิ้นเดือน), กาฬปักข์, กาฬปักษ์. กาฬผลก
  13. กิมงฺค : (นปุ.) คำมีอะไรเป็นเหตุ, อะไรเป็น เหตุ. แปล องฺค ว่าเหตุ อ. กิมงฺคํ ปน ก็ อ. อะไรเป็นเหตุเล่า แปลโดยอรรถว่า จะป่วยกล่าวไปใย. กึ
  14. กิมิชาติ : (อิต.) ชาติแห่งหนอน, หนอน, แมลงต่าง ๆ. สองคำแปลหลัง ลง ชาติสกัด.
  15. กิริยา กฺริยา : (อิต.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา กริยา คำแสดงอาการของนามหรือสัพพนาม เป็นคำพูดส่วน หนึ่งในบาลีไวยากรณ์. วิ. กตฺตพฺพาติ กิริยา กฺริยา วา, กรณํ วา กิริยา กฺริยา วา. ไทยใช้ กริยา. ส. กฺริยา.
  16. กิลิฏฺฐ : (ไตรลิงค์) ถ้อยคำผิดเบื้องต้นเบื้อง ปลาย, คำไม่สมต้นสมปลาย, คำขัดแย้ง กัน, ความเศร้าหมอง. กิลิสฺ อุปตาเป, โต, ฏฺฐาเทโส, สฺโลโป.
  17. กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
  18. กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
  19. กุณฺฑิก : ค. ผู้ดัด, ผู้ฝึกให้คดหรือให้โค้ง (ในคำว่า อหิกุณฺฑิก หมองู)
  20. กุลทูสก : (ปุ.) กุลทูสกะ เป็นคำเรียกภิกษุ ผู้ประจบคฤหัสถ์ด้วยอาการที่ผิดพระวินัย, ภิกษุประทุษร้ายตระกูล.
  21. กูฏวินิจฺฉยิกถา : อิต. คำวินิจฉัยที่ไม่ถูกต้อง, ถ้อยคำเท็จ
  22. โกสิก : (ปุ.) ไม้กำกูน. ไม้คำกูน ก็เรียก. กุสฺ เฉทเน, ณฺวุ, อุสฺโส, อิอาคโม.
  23. ขคฺค : (ปุ.) กระบี่, ดาบ, พระขรรค์ ชื่อศัตราวุธ ชนิดหนึ่ง มีคมสองข้าง กลางของความกว้างนูน ปลายแหลม, พระขรรค์ชัยศรี. คำชัยศรีเป็นคำใช้ประกอบชื่อของสิ่งต่างๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล. ขคฺคฺ ขณฺฑเภเท, อ. ส. ขฑฺคฺ.
  24. ขจร : (วิ.) ไปในอากาศ, ฯลฯ. ขจร(ขะจอน) กำจร ไทยใช้เป็นคำกิริยาในความว่า ฟุ้งไป กระจายไป ระบือไป ดังไป.
  25. ขสนา : (อิต.) คำด่า, คำว่า, ด่า, บริภาษ. ขุสิ อกฺโกเส, ยุ, นิคฺคหิตาคโม.
  26. เขฬสิก, เขฬากปฺป : ค. ผู้กลืนกินน้ำลาย (เป็นคำที่หยาบคายหรือใส่โทษ), ผู้ติดในลาภสักการะ
  27. คณฺฐิปาท : นป. คำที่เป็นดุจปม, คำพูดที่มีเงื่อนงำ, คำพูดที่คลุมเครือ
  28. คณฺฑูส : ป. คำหนึ่ง, อาหารคำหนึ่ง
  29. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  30. ควิ : ป. เครือเถาคล้ายต้นไม้ยืนต้น, ในคำว่า ควิปฺผล = ผลควิ
  31. คาถก : นป. คำอันเป็นคาถา
  32. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  33. คารยฺหวจ : (ปุ.) คนพูดคำอันบัณฑิตพึงติเตียน, คนพูดเหลวไหล.
  34. คารยฺหวจ, คารยฺหวาที : ค. ผู้พูดคำที่น่าติเตียน
  35. คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
  36. คิห : นป. บ้าน, เรือน, ใช้ในคำว่า อคิห ค. = ผู้ไม่มีเรือน (บรรพชิต)
  37. คุคฺคุล คุคฺคุฬ คุคฺคฬุ คุคฺคุฬุ : (ปุ.) ไม้กำกูน, ไม้กำคูน(สองชื่อนี้ เป็นไม้อย่างเดียวกัน), ภาษาเก่าใช้ว่า คำคูน คำคูล. คูน ต้นคูน (ดอกเป็นช่อยาวสีเหลืองราชพฤกษ์ก็เรียก). โรคหรเณ คุรุโนปิ เวชฺชสฺส คุรุ คุคฺคุฬุ.
  38. คุจฉ : (นปุ.?) พวงมาลัย, ช่อดอกไม้, ฟ่อน- หญ้า, ผ้าผูกคอ, มัด, ห่อ (สองคำนี้เป็น นามนาม). สิ. คุจฺฉ คุชฺช.
  39. คุณสขฺยา : (อิต.) การนับด้วยวิธีคูณ, การคำนวนด้วยวิธีคูณ.
  40. เคธิกต : ค. อันอิสสา, อันริษยาในคำว่า “เคธิกตจิตฺต”
  41. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  42. เคหวตฺถุ : (นปุ.) บ้านและวัตถุ. บ้าน, เรือน, เหย้า. ๓ คำแปลนี้ วตฺถุ สกัด.
  43. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  44. โคมุตฺต : (นปุ.) เยี่ยวโค, โคมูตร. คำโคมูตร ไทยใช้เป็นชื่อของเครื่องหมายสุดเรื่องของ หนังสือรุ่นเก่ามีรูปดังนี้๛
  45. ฆสฺต : ค. กลืนกินแล้ว, ใช้ในคำว่า “วงฺกฆสฺต” = กลืนกินขอแล้ว
  46. จกฺกวาล จกฺกวาฬ : (ปุ.) ปริมณฑล, จักรวาล, จักรวาฬ. ปัจจุบัน ไทยใช้แต่คำจักรวาล น่าจะคงคำจักรวาฬไว้ด้วย.
  47. จตุรงฺคตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดมีองค์สี่ คือ ค่ำ ป่าชัฏ เมฆทึบ และเที่ยงคืน.
  48. จน, จน : อ. เป็นอสากัลยัตถวาจกนิบาตบ่งความเพียงบางส่วนเช่นในคำว่า กุทา+จน = กุทาจน = ในกาลบางคราว, บางครั้งบางคราว เป็นต้น
  49. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  50. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-475

(0.0333 sec)