Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภูมิหลัง, หลัง, ภูมิ , then ภม, ภุมิ, ภูมิ, ภูมิหลัง, ภูมี, หลง, หลํ, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภูมิหลัง, 521 found, display 451-500
  1. โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
  2. โอสกฺกติ : ก. ถอยกลับ, ดึงกลับ, ล้าหลัง
  3. โอสกฺกน : (นปุ.) ความท้อถอย, ความท้อแท้, ความอ่อนแอ, ความถอยหลัง. โอปุพฺโพ, สกฺกฺ คติยํ, ยุ.
  4. โอสกฺกนา : กิต. การถอยกลับ, การดึงกลับ, การล้าหลัง
  5. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  6. โอหิยฺยก : ค. ผู้ล้าหลัง, ซึ่งอยู่ข้างหลัง
  7. โอหีน : กิต. ซึ่งถูกปล่อยไว้ข้างหลังแล้ว
  8. โอหียติ : ก. ล้าหลัง, ชักช้า, หยุดอยู่ข้างหลัง
  9. โอหียน : นป. การล้าหลัง, การชักช้า, การหยุดอยู่ข้างหลัง
  10. มุสฺสติ : ก. ลืม, หลง
  11. ภมุ, ภมุกา : อิต. คิ้ว
  12. ภีม : (วิ.) เป็นแดนกลัว, น่ากลัว, ดุร้าย. ภี ภเย, โม. รูปฯ ๖๓๖ ลง มนุ ปัจ. ลบ นฺ.
  13. ภีม, ภีสน : ค. น่ากลัว
  14. ภูม : (ปุ.?) ภพ.
  15. ภูม ภูมก : (ปุ.) ชั้น, ขอบเขต, พื้น, พื้นดิน, สถานที่.
  16. เภม : (ปุ.) สภาพอันสัตว์พึงกลัว. ภี ภเย, โม.
  17. ทารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, ทารก คือเด็กที่ ยังไม่เดียงสา เด็กแบเบาะ มติทาง ศาสนาว่าเด็กตั้งแต่คลอดถึง ๖ ขวบ. วิ. ทรติ กีฬวเสน ภูมี วิลิขตีติ ทารโก. ทรฺ วิทารเณ, ณวุ. ส. ทารก.
  18. ภมการ : (ปุ.) ช่างกลึง. ภม+การ.
  19. มุฏฺฐสฺสตี : ค. หลง ๆ ลืม ๆ
  20. มุทฺธ : (วิ.) เขลา, โง่, หลง. มุหฺ เวจิตฺเต, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ.
  21. มุยฺหติ : ก. หลง
  22. โมห : (วิ.) เขลา, โง่, หลง. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ.
  23. วิโมเหติ : ก. หลง
  24. กามมุจฺฉา : อิต. ความลุ่มหลงในกาม
  25. กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ  ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ   ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
  26. ชีวิตมท : ป. ความมัวเมาในชีวิต, ความหยิ่งในชีวิต, ความหลงในชีวิต
  27. ทิสามูลฬฺห : ค. ผู้หลงในทิศ, ผู้หลงทาง
  28. ปฏฺฐาน : นป. การเริ่มตั้งไว้, การตั้ง, การเริ่มต้น; จุดตั้งต้น, แหล่ง, เหตุ; ชื่อคัมภีร์ที่ ๗ แห่งอภิธรรมปิฎก
  29. ปปญฺจสงฺขา : อิต. ธรรมที่นับว่าเป็นเครื่องทำให้เนิ่นช้า, ธรรมที่เป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้า, เครื่องหมายแห่งความลุ่มหลง
  30. ปปญฺจิต : ๑. กิต (อันเขา) ให้เนิ่นช้า, ให้หน่วงเหนี่ยว, ให้ล่วงแล้ว; ๒. นป. ความเนิ่นช้า, ความคิดฟุ้งเฟ้อ, ความหลงผิด
  31. ปปญฺเจติ : ก. ทำให้เนิ่นช้า, ชักช้า, ให้พิสดาร, กล่าวให้เยิ่นเย้อ, ทำให้ฟั่นเฝือ, อธิบาย, หลงผิด
  32. ปมาที : ค. ซึ่งทำให้มัวเมา, ซึ่งทำให้ลุ่มหลง
  33. ปมุจฺฉิต : ค. เป็นลมสลบ; มัวเมา, ลุ่มหลง, สยบ
  34. ปมุยฺหติ : ก. ลุ่มหลง, มัวเมา
  35. ปมูฬฺห : ค. ผู้ลุ่มหลง, ผู้มัวเมา
  36. ปโมห : ป. ความลุ่มหลง, ความมัวเมา
  37. ปโมหก : (วิ.) ผู้ทำให้หลง. ปโมหปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กวิ.
  38. ปโมหน : นป. การหลอกลวง, ความหลงผิด
  39. ปโมเหติ : ก. หลอกลวง, ให้ลุ่มหลง, ล่อให้หลง
  40. ปุถุชฺชน : ป. ปุถุชน, คนธรรมดา, คนสามัญ, คนต่ำ, คนหลง
  41. ภนฺติ : (อิต.) ความไม่ตั้งลง, การหมุน, ความหมุน, ภมฺ อนวฏฺฐาเน, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบ มฺ.
  42. ภมร : (ปุ.) ผึ้ง, แมลงผึ้ง, แมลงภู่, ภมร, ภมริน, วิ. ปุปผมตฺถเก ภมตีติ ภมโร. ภมุ อนวฏฺฐเน, อโร. แปลว่าเครื่องกลึง ก็มี.
  43. ภิงฺคราช : (ปุ.) ตองแตก ชื่อต้นไม้ เถาใบเป็นสองแฉก. วิ. ภมตีติ ภิงฺโค วุจฺจติ ภมโร. ตพฺพณฺรํ กตฺวา เตสํ รญฺเชตีติ ภิงฺคราโช.
  44. มคฺคมุฬฺห : ป. คนหลงทาง
  45. มหากิริยา : (อิต.) มหากิริยา ชื่อของการกระทำของพระอรหันต์ พระอรหันต์ท่านทำอะไร ก็ทำด้วยจิตบริสุทธิ์ ไม่มีโลภ โกรธหลง ไม่ยึดเอาเป็นบุญเป็นบาป จึงเรียกว่า มหากิริยา.
  46. มุฏฺฐ : กิต. หลงแล้ว, ลืมแล้ว
  47. มุฏฺฐสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันเผลอแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันลืมแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันหลงแล้ว, ความเป็นคนเผลอสติ, ฯลฯ. มุฏฺฐ+สติ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  48. มุณฺห : (วิ.) หลง, เขลา, โง่. มุหฺ เวจิตฺเต, ยุ.
  49. มุฬฺห : (ปุ.) ความหลง, ความเขลา, ความโง่. มุหฺ เวจิตฺเต, โฬ. กลับอักษร เอา ฬ ไว้หน้า ห.
  50. โมมูห : (ปุ.) ความหลงใหล, ความหลงมาก, ความหลงเลอะ, ความโง่เขลา, ความโง่เง่า. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ. เท๎วภาวะ มุ แปลง อุ เป็น ทีฆะ อุ ที่ มุ ตัวธาตุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-521

(0.0888 sec)