Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ข้างหลัง, หลัง, ข้าง , then ขาง, ข้าง, ข้างหลัง, หลง, หลํ, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ข้างหลัง, 578 found, display 251-300
  1. ปสฺส : ป., นป. ข้าง, สีข้าง, ปีก, เนินผา
  2. ปาตุ : อ. ข้างหน้า, ปรากฏ, พอมองเห็นได้
  3. ปาสาณปิฏฺฐิ : อิต. หลังแผ่นหิน, หินดาน
  4. ปิฏฺฐ : นป. หลัง, ด้านหลัง; พื้น; แป้ง, ผง
  5. ปิฏฺฐิก : ค. มีหลัง
  6. ปิฏฺฐิกณฺฏก : นป. กระดูกสันหลัง
  7. ปิฏฺฐิคต : ค. ซึ่งไปบนหลัง, ซึ่งขี่หลังไป
  8. ปิฏฺฐิปณฺณสาลา : อิต. ด้านหลังของบรรณศาลา
  9. ปิฏฺฐิปริกมฺม : นป. การนวดหลัง (โดยวิธีถูไปถูมา)
  10. ปิฏฺฐิปาท : ป. หลังเท้า, น่อง
  11. ปิฏฺฐิปาสาณ : ป. หลังหิน, ลานหิน, หินดาด
  12. ปิฏฺฐิพาห : นป. หลังแขน
  13. ปิฏฺฐิมนฺตุ : ค. ผู้มีหลัง
  14. ปิฏฺฐิมส : นป. เนื้อสันหลัง
  15. ปิฏฺฐิมสิก : ค. ผู้ติเตียนลับหลัง, ผู้นินทา
  16. ปิฏฺฐิมสิกตา : อิต. การติเตียนลับหลัง, การนินทา
  17. ปิฏฺฐิโรค : ป. โรคปวดสันหลัง
  18. ปิฏฺฐิวส : ป. กระดูกสันหลัง; ชื่อเรือน
  19. ปิติปกฺข : ป. ฝ่ายพ่อ, ข้างพ่อ
  20. ปุถุปาณิก, - ณิย : นป. การถูหลังด้วยมือ
  21. ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
  22. ปุพฺพกิจฺจ : (นปุ.) กิจที่จะต้อง ทำก่อน,กิจเบื้องต้น,บุพกิจ คือกิจที่ทำหลังบุพกรณ์.
  23. ปุพฺพเสล : (ปุ.) ปุพพเสละ ชื่อภูเขาข้างบุรพทิศ.
  24. ปุรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างหน้า, ในเบื้องหน้า, ก่อน.
  25. ปุราเภท : (นปุ.) ภายหลังแห่งความตาย. วิ. เภทาย ปุรา ปุราเภทํ.
  26. ปุริสปรกฺกม : ป. การก้าวไปข้างหน้าของบุรุษ, ความพยายามของบุรุษ
  27. ปุเร : (อัพ. นิบาต) ก่อน, ในก่อน, ในกาลก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
  28. ปุเรคามี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ผู้มีปกติไปก่อน, ผู้มีปกติไปข้างหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ปุเร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้ไปในเบื้องหน้า ปุร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้มีปกติไปในเบื้องหน้า วิ. ปุเร คมนสีโล ปุเรคามี. ไม่ลบวิภัติของบทหน้า.
  29. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  30. ปุเรชา : ค. วิ่งไปข้างหน้า
  31. ปุฬูว ปุฬูวก : (ปุ.) หนอน, แมลง (แมลงต่างๆ). ปุฬฺ สํฆาเต (หึสายํ), อโว, อสฺส อู (แปลง อ เป็น อู). ศัพท์หลัง ก สกัด.
  32. ปูติ ปูติก : (วิ.) บูด, เน่า, เปื่อย, เปื่อยเน่า, เหม็น, ยุ. ปูยิ ทุคฺคนฺเธ, ติ. ลบที่สุดธาตุศัพท์หลัง ก สกัด.
  33. เปจฺจ : (อัพ. นิบาต) ภพอื่น, ข้างหน้า, โลกหน้า, ภายหน้า. ที่ใช้เป็นกิริยา แปลว่าละไปแล้ว.
  34. ผิต ผีต : (วิ.) แผ่ไป, เผล็ต, บาน, แพร่หลาย, มั่งคั่ง, ผึ่งผาย, กว้าง, กว้างขวาง. ผิ คมเน, โต. ศัพท์หลังทีฆะ.
  35. พทฺธเวร : (นปุ.) การผูกเวร. เวร+พทฺธ กลับบทหน้าไว้หลัง.
  36. พนฺธุก พนฺธูก : (ปุ.) ชบา. พนฺธฺ พนฺธเน, อุ, สตฺเถ โก. ศัพท์หลังทีฆะ.
  37. พฺยปถ พฺยปฺปถ : (ปุ.) ทางแห่งวาจา, คลองแห่งวาจา, คำเป็นทาง, ถ้อยคำเป็นทาง. วาจา+ปถ. วาจาย โพฺย ปเถ เพราะ ปถ ศัพท์อยู่หนปลาย แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย. ศัพท์หลังซ้อน ปฺ.
  38. พฺยาวฏ พฺยาวต : (วิ.) ขวน ขวาย, พยายาม, กระ ตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วฏฺ เวฐเน, อ. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ต.
  39. พหิคต : ค. ไปข้างนอก; อยู่ภายนอก
  40. พาหิก : ค. ซึ่งมีในภายนอก, ซึ่งอยู่ข้างนอก
  41. พาหิราภิมุข : ค. ผู้มีหน้าเฉพาะต่อสิ่งที่มีในภายนอก, ผู้มุ่งหน้าสู่ภายนอก, ผู้มองไปข้างนอก
  42. พิมฺโพหน : (นปุ.) หมอน, เขนย. วิ. วิเสเสนสีสํ วห-ตีติ พมฺโพหนํ. วเสสปุพฺ-โพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, ลบ สฺส แปลง ว ทั้งสองเป็น พ แปลง อ ที่ พ ตัวหลัง เป็น โอ นิคคหิตอาคม.
  43. โพธิสมฺภาร : (ปุ.) บารมีธรรมเป็นเครื่องอุดหนุนแก่พระโพธิญาณ, โพธิสมภาร คือ บุญบารมีที่ได้สะสมไว้แต่หนหลังบุญบารมีของพระมหากษัตริย์.
  44. ภตฺตการ ภตฺตการก : (ปุ.) คนหุงข้าว, พ่อครัว. วิ. ภตฺตํ กโรติ กริสฺสติ อกาสีติ ภตฺตกาโร ภตฺตการโก วา. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  45. ภมุกา : (อิต.) คิ้ว. วิ. ภมติ จรตีติ ภมุ ภมุโก ภมุกา วา. ภมุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  46. ภมุ ภมุก : (ปุ.) คิ้ว. วิ. ภมติ จรตีติ ภมุ ภมุโก ภมุกา วา. ภมุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  47. ภาณุ ภานุ : (ปุ.) พระอาทิตย์, ภาณุมาศ ภาณุมาต ๒ คำหลังนี้ใช้ในคำกลอนโดยมาก. ภา ทิตฺติยํ, ณุ, นุ. รูปฯ ๖๖๕.
  48. ภินฺทิวาล ภินฺทิวาฬ : (ปุ.) ภินทิวาล ภินทิวาฬ ชื่อหอกชนิดหนึ่ง วิ. ภินฺทนสีลตาย ภินฺที, วาติ คจฺฉติ อเนนาติ วาโล. วา คติยํ, อโล. ภินฺที จ โส วาโล เจติ ภินฺทิวาโล ภินฺทิวาโฬ วา รัสสะ อี เป็น อิ ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  49. ภีรุ ภีรุก : (วิ.) กลัว, ขลาด, ขี้ขลาด, สะดุ้งกลัว. วิ. ภายตีติ ภีรุ ภีรุโก วา. อถวา, ภายนสีโล ภีรุ ภีรุโก วา. ภี ภเย, รุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือลง รุก ปัจ. หรือ ลง ณุก ปัจ. ลบ ณฺ แล้ว ลง รฺ อาคม.
  50. ภุชงฺค ภุชงฺคม : (ปุ.) แปลเหมือน ภุชค. วิ. ภุเชน คจฺฉตีติ ภุชงฺโค ภุชงฺคโม วา. ศัพท์ต้น กฺวิ ปัจ. ศัพท์หลัง อ ปัจ. ลง นิคคหิตอาคม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-578

(0.0591 sec)