Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ฝ่ายเสนอ, เสนอ, ฝ่าย , then ฝาย, ฝ่าย, ฝายสนอ, ฝ่ายเสนอ, สนอ, เสนอ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ฝ่ายเสนอ, 75 found, display 51-75
  1. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  2. โพธิปกฺขิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งธรรมสามัคคีเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งการบรรลุ (โลกุตตรธรรม).
  3. มหานิกาย : (ปุ.) หมุ่ใหญ่, หมู่มาก, มหานิกาย เป็นคำเรียกคณะสงฆ์ไทยฝ่ายดั้งเดิม คำนี้เกิดขึ้นเมื่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุตติกนิกายแล้ว จึงเรียาสงฆ์ที่มีอยู่ดั้งเดิมว่า มหานิกาย.
  4. มหายาน : (ปุ.) มหายาน ชื่อนิกายของคณะสงฆ์ในพระพุทธเจ้าศาสนาฝ่ายเหนือ เช่น ประเทศจีน ญวน ญี่ปุ่น เป็นต้น คู่กันกับหีนยาน ซึ่งเป็นนิกายของคณะสงฆ์ฝ่ายใต้ ดู หินยาน ด้วย.
  5. มาติปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายข้างมารดา.
  6. มุขวิการ : ป. การปุ้ยปาก, การเสนอหน้า
  7. โมคฺคลฺลาน : (ปุ.) พระโมคคัลลานะ ชื่อพระมหาเถระผู้เป็นอัครสาวกฝ่ายซ้ายของพระพุทธเจ้า.
  8. สกวาที : ป. ผู้กล่าวถ้อยคำฝ่ายตน
  9. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  10. สุกฺก สุกฺกปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายขาว, ปักข์ขาว, ข้างขึ้น, สุกกปักข์, ศุกลปักษ์.
  11. สุณิสา : (อิต.) หญิงสะใภ้, ลูกสะใภ้. วิ. สุณาตีติ สุณิสา (ผู้ฟังคำของผู้ใหญ่). สุ สวเน, ณีโส. สสุเรหิ สุณิตพฺพาติ สุณิสา (ผู้อันแม่ผัวและพ่อผัวพึงเบียดเบียน). สุณฺ หึสายํ, อิโส. ทฺวินฺนํ ชนานํ กุลํ สุณาตีติ สุณิสา (ผู้สืบตระกูลของชนทั้งสองฝ่าย). สุณฺ กุลสนฺ ตาเน.
  12. อภิเสกเคหปฺปเวสนวิวาหมงฺคล : (นปุ.) มงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเข้าไปสู่เรือนเป็นที่อภิเษกและมงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเจ้าบ่าวไปสู่เรือนอื่น(เรือน ฝ่ายเจ้าสาว).
  13. อโหสิกมฺม : (นปุ.) อโหสิกรรมคือกรรมที่ต่างฝ่ายต่างเลิกแล้วต่อกันการไม่เอาบาปกรรมแก่กัน, กรรมที่ไม่ให้ผล.วิ.อโหสิกํกมฺมํอโหสิกมฺมํ.ลบกสกัด.
  14. อารกฺขอารกฺขณ : (นปุ.) การป้องกัน, การดูแล, การรักษา, การคุ้มครอง, อารักขา.ขออารักขาคือขอให้ฝ่ายบ้านเมืองมาช่วยคุ้มครองป้องกันภัยอันตราย.อาปุพฺโพ, รกฺขฺปาลเนอ, ยุ.ส.อารกฺษ.
  15. อาวาห อาวาหมงคล : (นปุ.) มงคลที่เป็นที่ นำมา, การนำมา, การแต่งงาน, การสมรส, อาวาหะ (การนำหญิงมาอยู่บ้านฝ่ายชาย). อาปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โณ. ส. อาวาห.
  16. อุตฺตรนิกาย : (ปุ.) อุตตรนิกาย ชื่อนิกายสงฆ์ ในพระพุทธศาสนา เป็นนิกายฝ่ายเหนือ ได้แก่ ฝ่ายมหายาน.
  17. อุตฺตรสกฺขี : ป. พยานฝ่ายจำเลย
  18. อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
  19. อุพฺพาหิกา : อิต. อุพพาหิกาวิธี, การเสนอให้วินิจฉัย
  20. อุภโต : (อัพ. นิบาต) สองข้าง, สองฝ่าย, สองอย่าง.
  21. อุภโตปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติสองฝ่าย คือ บัญญัติสำหรับภิกษุและภิกษุณี.
  22. อุภโตสงฺฆ : ป. สงฆ์สองฝ่าย คือ ภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์
  23. เอกโตปญฺญ ตฺติ : (อิต.) เอกโตบัญญัติ (บัญญัติ สำหรับภิกษุหรือภิกษุณี เพียงฝ่ายใดฝ่าย หนึ่ง).
  24. นทีมาติก : ป. ประเทศที่อาศัยน้ำ, เหมืองทดน้ำ, เหมืองฝาย
  25. 1-50 | [51-75]

(0.0272 sec)