Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป้าหมาย, เป้า, หมาย , then เบ้า, ปา, เป้, เป้า, เป้าหมาย, หมาย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป้าหมาย, 823 found, display 151-200
  1. ลกฺเขติ : ก. หมาย, กำหนด
  2. วจนตฺถ : ป. ความหมายแห่งถ้อยคำ
  3. วจีวิญฺญตฺติ : อิต. วจีวิญญัติ, การกำหนดหมายให้รู้โดยทางคำพูด
  4. เววจน : นป. คำมีรูปต่างกัน แต่ความหมายเหมือนกัน, ไวพจน์
  5. สกทาคามี : ป. ผู้จะมาเกิดอีกคราวเดียว - หมายถึงพระอริยบุคคล
  6. สงฺเกต : นป. การหมายไว้, การกำหนดไว้
  7. สญฺญา : อิต. ความจำได้, ความหมายรู้
  8. สทฺทตฺถ : ป. ความหมายของคำ
  9. สทฺธิวิหาริก : ค. ผู้อยู่ร่วม, หมายถึงภิกษุที่บวชกับอุปัชฌาย์องค์ใดก็เป็นสัทธวิหาริกของอุปัชฌาย์องค์นั้น
  10. สนฺทิฏฺฐิก : ค. ผู้ปฎิบัติควรเห็นด้วยตนเองหมายถึงพระธรรม
  11. สนฺธาย : ๑. อ. หมายถึง, เกี่ยวกับ; ๒. กิต.รวม
  12. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  13. สมร : (ปุ. นปุ.) การรบ, การรบพุ่ง, การรบพุ่งกัน, สงคราม, การสงคราม. สํปุพฺโพ, อรฺ คมเน. อ. ไทย สมร(สะหมอน) ใช้ในความหมายว่านางในดวงใจ นางงาม นางซึ่งเป็นที่รัก สันสกฤตใช้เป็นคำเรียกกามเทพ แปลว่า ความรัก. ส. สมร.
  14. สรวฺย : นป. เป้า, เครื่องหมาย
  15. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  16. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  17. สิทฺธิ : (อิต.) คำสั่ง, คำสั่งสอน. สิธุ สาสเน. ความเจริญ, มงคล. สิธุ มงฺคเ ลฺย. การบรรลุ, การบรรลุผล, การสมความปรารถนา, ความสมปรารถนา, ความสำเร็จ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุเป็น ทฺ. ไทย สิทธิ หมายถึง อำนาจอันชอบธรรมที่จะทำอะไรได้ตามกฎหมาย. ส. สิทฺธิ.
  18. สุวณฺณภูมิ : (อิต.) แดนทอง, แผ่นดินทอง, สุวรรณภูมิ. คำ สุวรรณภูมิ ไทยหมายถึง แผ่นดิน พม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มลายู และสิงคโปร์.
  19. โสตายตน : (นปุ.) ที่เป็นต่อคือ หู, เครื่องติดต่อคือหู, อายตนะคือหู ประสาทหู (หมายเอาประสาทรับรู้เสียง).
  20. หตฺถสิปฺป : (นปุ.) วิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศิลป์ คือวิชาเกี่ยวกับการใช้มือทำสิ่งต่าง ๆ หัตถศิลป์ ไทยใช้ในความหมายว่า การช่างทำด้วยมือ.
  21. อกฺขิ : (นปุ.) ตา, ดวงตา, นัยน์ตา (หมายเอาลูกตาที่กลอกไปมา)วิ. อสติ วิสเยสุพฺยาปีวิย ภวตีติ อกฺขิ. อสุ พฺยาปเน, ขิ, สสฺส โก. อถวา, อกฺขติ วิสเยสุ พฺยาปีภวติ อกฺขติ วา เอเนนาติ อกฺขิ. อกฺข พฺยาปนทสฺสเนสุ, อิ. ส. อกฺษิ.
  22. องฺกิต : (นปุ.) หมาย, เครื่องหมาย, ตปัจ.อิอาคม.
  23. องฺเกติ : ก. จำหลัก, ทำเครื่องหมายให้รู้, กำหนด, กำหนดหมาย
  24. องฺครกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ป้องกันองค์พระมหากษัตริย์, บุคคลผู้รักษาตัว (หมายถึงตัวของบุคคลอื่นที่ตนมีหน้าที่ไปรักษาป้องกัน).ส. องฺครกฺษ.
  25. อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
  26. อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
  27. อญฺชลิอญฺชลีอญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่าประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก).วิ. อญฺเชติภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี.สนามหลวงแผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็นอิต.ส.อญฺชลิ.
  28. อญฺชลิ อญฺชลี อญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่า ประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก). วิ. อญฺเชติ ภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี. สนามหลวง แผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็น อิต. ส. อญฺชลิ.
  29. อญฺญมญฺญ : (วิ.) กันและกัน.วิ. อญฺญํอญฺญอญฺญมญฺญํ.ํมฺอาคมไทยใช้เป็นภาษาพูดว่าอัญญมัญญังในความหมายว่า ซึ่งกันและกัน.
  30. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  31. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  32. อธิจิตฺต : (นปุ.) ธรรมชาติอันอาศัยซึ่งจิตเป็นไป(จิตฺตสฺส อธิกจฺจ ปวตฺตนํ), จิตยิ่ง, อธิกจิตหมายถึงจิตที่ได้สมาธิถึงขั้นฌาน.วิ.อธิกํจิตฺตํอธิจิตตํ.
  33. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
  34. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
  35. อธิมุตฺต : (นปุ.?)ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความน้อมใจเชื่อ, ความพอใจ, จิตนอนอยู่, อัชฌาสัย, อัธยาศัย.อธิปุพฺโพ, มุจฺ โมจเนนิจฺฉเย วา, โต, จสฺสโต.
  36. อธิมุตฺติ : (อิต.) ความมุ่งหมาย, ฯลฯ.ติปัจ.ส.อธิมุกฺติ.
  37. อนคฺฆ : (วิ.) มีค่าหามิได้วิ.นตฺถิอคฺโฆเอตสฺสาติอนคฺโฆความหมายแท้จริงหมายความว่า มีค่ามากจนกำหนดค่าไม่ได้ฏีกาเวสฯท่านจึงแก้ว่าโสหิอคฺฆสฺสมหนฺตตฺตาอนคฺโฆติวุตฺโต.ส.อนรฺฆ.
  38. อนาถ : (วิ.) ผู้ไม่มีที่พึ่ง, ผู้หาที่พึ่งไม่ได้, ผู้ไร้ที่พึ่ง, ผู้ไม่มีอิสระ.ไทย อนาถ (อะหนาด)ใช้ในความหมายว่า สงสาร สังเวช สลดใจ.อนาถาใช้ในความหมายว่ากำพร้ายากจนเข็ญใจ.ส.อนาถ.
  39. อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
  40. อนาปุจฺฉา : (อิต.) การไม่มอบหมายอุ.เสนา สนํอนาปุจฺฉาปกฺกมนฺติภิกษุท. ไม่มอบหมายเสนาสนะหลีกไป.การไม่บอกลาอุ.อนาปุจฺฉาวิกาเลคามํปริเสยฺยนฺติ.ภิกษุ ท. ไม่บอกลาเข้าไปบ้านในเวลาวิกาล
  41. *อนุคฺฆาเฏติ : ก. เปิด, ไม่ปิด, แก้ออก *ของ P.T.S.D. มีความหมายตรงข้ามแปลว่าปิด, มัด โดยแยกศัพท์เป็น น+อุคฺฆาเฏติ
  42. อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
  43. อนุญฺญาต : (วิ.) รู้ตามแล้ว, ตามรู้แล้ว, อนุญาตแล้ว.อนุญาตไทยใช้ในความหมายว่ายินยอม, ยอมให้, ยกให้, ตกลง.
  44. อนุญฺาต : (วิ.) รู้ตามแล้ว, ตามรู้แล้ว, อนุญาต แล้ว. อนุญาต ไทยใช้ในความหมายว่า ยินยอม, ยอมให้, ยกให้, ตกลง.
  45. อนุปญฺญตฺติ : (อิต.) การตั้งขึ้นภายหลัง, การบัญญัติภายหลัง, อนุบัญญัติชื่อของพระวินัยหมายถึงข้อห้ามซึ่งพระองค์ทรงห้ามเพิ่มเติมจากข้อห้ามเดิม.ข้อที่ทรงเพิ่มเติมภายหลัง.
  46. อนุมาน : (ปุ. นปุ.) ความนับตาม, ความกำหนดตาม, การตามกำหนด, การหมั่นกำหนด, การคาดหมาย, การคาดคะเน, ความนับตามฯลฯ.ส. อนุมาน.
  47. อเนญฺชาภิสงฺขาร : (ปุ.) อภิสังขารคืออเนญชาหมายเอารูปฌานที่ ๔ และ อรูปฌาน ๔.
  48. อเปกฺขน : นป. อเปกฺขา, อิต. ความหวัง, ความปรารถนา, ความมุ่งหมาย
  49. อพฺโพหาริก : (วิ.) อันเป็นอัพโพหาริกคือ ไม่ควรนับว่าผิดวินัยหรือกฏหมาย ในเพราะการกระทำบางกรณีเช่นคนที่รับประทานแกงซึ่งผสมเหล้านิดหน่อยเพื่อดับกลิ่นหรือชูรสการกินเหล้าในกรณีเช่นนี้จัดเป็นอัพโพหาริกไม่นับว่ากินเหล้าศีลไม่ขาด.
  50. อภิญฺญา : (อิต.) ความรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ปัญญาอันบุรุษพึงรู้ยิ่ง, ปัญญาเครื่องรู้ยิ่ง, ความรู้ยิ่ง, ความฉลาด, ปัญญา, กฏหมาย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-823

(0.0636 sec)