Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป้าหมาย, เป้า, หมาย , then เบ้า, ปา, เป้, เป้า, เป้าหมาย, หมาย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป้าหมาย, 823 found, display 751-800
  1. โสปาน : (ปุ. นปุ.) บันได, พะอง. วิ. สห อุปาเนน วตฺตตีติ โสปาโน. แปลง น เป็น ณ โสปาณ บ้าง. ส. โสปาน.
  2. โสภญฺชน : (ปุ.) มะรุม วิ. โสภํ ชเนตีติ โภญฺชโน. โสภปุพฺโพ. ชนฺ ปาตุภเว, อ. โสภติ อญฺชนํ เอเตน เหตุภูเตนาติ วา โสภญฺชโน.
  3. หตฺถินข : (ปุ.) ปราสาทตั้งอยู่บนกระพองช้าง กระพอง คือ ส่วนที่นูนเป็นปุ่มสองข้างที่ศรีษะช้าง กะพอง ตระพอง ตะพอง ก็ว่า. วิ. หตฺถิกุมฺภมฺหิ ปติฎฐโต นโข หตฺถินโข. ปาสาโท เอว นโข.
  4. หย : (ปุ.) ม้า, ม้าตัวผู้. วิ. หิโณติ สามิเกน กสาหตาทิกาเรน ปาชิโต สีฆํ คจฺฉตีติ หโย. คติยํ, โณ. หยฺ คติยํ, อ. ส. หย.
  5. หวฺยปาก : (ปุ.) ภาชนะเครื่องสังเวย, ถาดเครื่องเซ่นสังเวย. วิ. หวฺยสฺส ปาโก หวฺยปาโก, แปลว่าเครื่องเซ่นสังเวยก็ได้.
  6. หิริ : (อิต.) ความละอาย, ความเกลียด, ความละอายบาป, ความเกลียดบาป, ความละอายใจ, ความละอายแก่ใจ. วิ. หิรียติ ปาปาติ หิริ. หิริ ลชฺชิยํ, อิ. ฎีกาอภิฯ เป็น หิรี ธาตุ อิ ปัจ. สำเร็จรูปเป็น หิรี. ไตร. ๒๐, ๒๒ ก็เป็น หิรี.
  7. หุตาวห : (ปุ.) หุตาวหะ ชื่อไฟชื่อที่ ๗ ใน ๑๘ ชื่อ, ไฟ. วิ. เทวหุตํ หวึ วหติ ปาปียติ สยํ วา ลภเตติ หุตาวโห. วหฺ ปาปเน, อ.
  8. หุร : (อัพ. นิบาต) โลกอื่น, ภพอื่น, เบื้องหน้า, ภพหน้า, ในเบื้องหน้า, ในภพหน้า. กาล สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  9. เห : (อัพ. นิบาต) โลกอื่น, ภพอื่น, เบื้องหน้า, ภพหน้า, ในเบื้องหน้า, ในภพหน้า. กาลสตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  10. อกฺขนฺต : (ปุ.) ป่า, ป่าไม้, ป่าชัฏ, พุ่มไม้.
  11. องฺค : (ปุ.) อังคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ ใช้เป็นพหุ. เสมอ เมืองหลวงชื่อจัมปา, คม (คมดาบ). อคิ คมเน, อ.
  12. องฺควิกฺเขป : (ปุ.) การออกท่าทางด้วยอวัยวะ, การออกท่าทางด้วยอวัยวะแห่งสรีระมีมือและเท้าเป็นต้น, การร่ายรำ.วิ. องฺคนํหตฺถปาทาทิสรีราวยวานํวิกฺเขโปองฺควิกฺเขโป.
  13. อชปาลก : (นปุ.) โกฐชื่อเครื่องสมุนไพรอย่างหนื่ง มีหลายชนิด.วิ.อตฺตโน ฉายูปคเตอเชปาเลตีติอชปาลกํ. อชปุพฺโพปาลฺรกฺขเณ, ณฺวุ.
  14. อฏวี : (อิต.) ป่า, หมู่ป่า, ป่าใหญ่, ดง, พง.อฎฺ คมเน, อโว, อิตฺถิยํ อี. อถวา, อาสทฺโทอุทฺธิคมนตฺเถ, ฏุ วิรูหเน, โณ, อิตฺถิยํอี.ส. อฎวี.
  15. อตฺตชอตฺตฏ : (ปุ.) ป่า, พยาธิ?
  16. อตฺตช อตฺตฏ : (ปุ.) ป่า, พยาธิ?
  17. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  18. อตปฺป : (ปุ.) อตัปปะ (ไม่เดือดร้อน)ชื่อรูปพรมชั้นที่ ๑๓ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของอตัปปพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่มีความเดือดร้อนใจ.วิ. น ตปฺปนฺตีติอตปฺปา.
  19. อธิป : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, อธิปุพฺโพ, ปารกฺขเณ, โร.ส. อธิป.
  20. อธิโรหณี : (อิต.) พะอง, บันได.วิ.อุทฺธ มาโรหเต เอตายาติ อธิโรหณี. อธิปุพฺโพ, รุหฺปาตุภาเว, ยุ, อิตถิยํอี. เป็นอธิโรหิณีเพราะแปลงอที่หเป็นอิบ้าง.
  21. อโธต : (วิ.) เปื้อน. อโธเตหิปาเทหิกฐินํอกฺกมนฺติ.ภิกษุท.มีเท้าเปื้อนเหยีบไม้สดึง
  22. อนฺตรีป : (นปุ.) เกาะ.วิ. ทฺวิธาคตานมาปานมนฺตรคตํอนฺตรีปํ.แปลงอที่รเป็นอี.อการสฺสี.
  23. อนุกฺขิปติ : ก. ซัดไป, ปาไป, ขว้างไป
  24. อนุกมฺปน : นป. อนุกมฺปา อิต. ความเอ็นดู, ความเมตตา, ความสงสาร
  25. อนุทิสา : (อิต.) ทิศน้อย, ทิศเฉียงวิ.ทิสานมนุรูปาอนุคติกาวาทิสาอนุทิสา.
  26. อนุปาทิยาน : ค. ดู อนุปาทานิย
  27. อปตฺถ : ค. ขว้าง, ปาทิ้งแล้ว, ไม่มีประโยชน์
  28. อปฺปนา : (อิต.) ความแนบแน่น, วิ.อปฺเปติสมฺปยุตฺตธมฺเมปาเปตฺยารมฺมณนฺติอปฺปนาอปฺปาปุณเน, ยุ, ทฺวิตฺตํ.
  29. อปฺปอปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน.วิ.อเปสิอิสกมตฺตมคมาสีติอปฺปํ.อปฺปาปุณเน, โป.อลฺภูสเนวา, โป. ศัพทฺหลังกสกัด.ส.อลฺปก.
  30. อปฺป อปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิด หน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน. วิ. อเปสิ อิสกมตฺต มคมาสีติ อปฺปํ. อปฺ ปาปุณเน, โป. อลฺ ภูสเน วา, โป. ศัพทฺหลัง ก สกัด. ส. อลฺปก.
  31. อปรเสล : (ปุ.) ภูเขาข้างทิศปัจฉิม.วิ. ปุพฺพเสลมุปาทายอปรเสโล.อปรสฺมึทิสาภาเคเสโลวาอปรเสโล.
  32. อปายภูมิ : (อิต.) ภูมิที่ปราศจากความเจริญ, อบายภูมิคือนรกเปรตอสุรกาย และสัตว์ดิรัจฉาน.วิ.อปาโยเอว ภูมิ อปายภูมิ
  33. อพฺพหณอพฺพหน : (วิ.) เป็นเครื่องถอนออก, เป็นเครื่องชักออก.อาปุพฺโพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, รสฺโส, พฺสํโยโค.
  34. อพฺพหณ อพฺพหน : (วิ.) เป็นเครื่องถอนออก, เป็นเครื่องชักออก. อาปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน , ยุ, รสฺโส, พฺสํโยโค.
  35. อภิธมติ : ก. เป่า, พัด, ฝัดออก
  36. อภินย : (ปุ.) การนำไปยิ่ง, การนำไปเฉพาะ.อภิปุพฺโพ, นีนเย, อ.การแสดงท่าทาง, การแสดงละคร, การแสดงกล.วิ.ปสฺสนฺ-ตานํอภิมุขํนยนํอภินโย.อภิปุพฺโพ, นีปาปุณเนโพธเนวา, อ.ส.อภินย.
  37. อภิสมาจาริกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันกล่าวถึงขนบธรรมเนียมอันดีของภิกษุ, สิกขาอันเป็นอภิสมาจารเป็นสิกขามานอกพระปาติ-โมกข์ไม่มีจำนวนบอกไว้.
  38. อรญฺญ : (นปุ.) ป่า, หมู่ไม้.อรัณย์, อรัญญวา, อรัญญเวศ.อรียเตติ อรญฺญํ.อรฺคติยํ, โญ, ญฺสํโยโค.ส.อรณฺย.
  39. อริ : (ปุ.) ข้าศึก. ศัตรู.วิ. อรติปจฺจตฺถิกภาวนฺติอริ.อรฺคมเน, อิ.อถวา.อรฺนาเส, อิ.อปฺปโกรูปาทิปญฺจกามคุณสํขาโต โร กาโมเอเตนาติอริ.อริที่มาคู่กับปุญฺญแปลว่าอริว่าปาบ.ส.อริ.
  40. อลิก : (อัพ. นิบาต) เหลาะแหละ, ฯลฯ.อสจฺเจนิปาโต.
  41. อสปฺปายเสวน : (นปุ.) การเสพของอันไม่เป็นสัปปายะ, การเสวนะกับสิ่งที่เป็นอันตรายแก่การปฏิบัติ, ของแสลง.
  42. อหิ : (ปุ.) งู. วิ. นิปฺปาโทปิสมาโนอํหติคนฺตุสกฺโกตีติอหิ.อํหฺคติยํ, อิ. ส. อหิ.
  43. อานาย : (ปุ.) ข่าย, แห.วิ.อานยนฺเตอเนนาติอานาโย.อาปุพฺโพ, นีปาปุณเน, โณ.แปลงอีเป็นอาย.เป็นอนยบ้าง.ส. อานาย.
  44. อาปาน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาดื่ม, สถานที่เป็นที่มาดื่ม, สถานที่ดื่มเหล้า, การดื่ม, วิ.อาภุสํปิวนฺติยสฺมินฺติอาปนํ.อาคนฺตฺวาปิวนฺติเอตฺถาติวาอาปนํ.อาปุพฺโพ, ปาปาเน, ยุ.ส.อาปาน
  45. อาโภค : (ปุ.) ความบริบรูณ์, ความสำเร็จ, ความคำนึง, ความคิด, ความคิดนึก, ความรำพึง, ความผูกใจไว้, ความหวนระ-ลึก, ความไม่มีโทสะ.อาปุพฺโพ, ภุชฺปาลนชฺโฌหาเรสุ, โณ.ส. อาโภค.
  46. อายาม : (ปุ.) การชัก, การชักมา, ฯลฯ, ความยาว, ส่วนยาว.อาปุพฺโพ, ยา คติปาปุณเนสุโม.ยมุวาอุปรเม, อ. ส. อายาม.
  47. อาโรหน : (นปุ.) การยกขึ้น, การขึ้นไป, ความยาว, ส่วนยาว, ความสูง, ส่วนสูง.อาปุพฺโพ, รุหฺปาตุภาเว, โณ.ส.อาโรห, อาโรหณ.
  48. อาลมฺพ : (ปุ.) อารมณ์.วิ.จิตฺตเจตสิเกหิอาลมฺพียเตติอาลมฺโพ.ลมฺพนฺติเอตฺถรูปาทีสูติวาอาลมฺโพ.อาปุพฺโพ, ลพิอวสํสเน, อ.
  49. อาวฏฺฏนี : อิต. ผู้หญิง; เตาหลอม, เบ้ากลม
  50. อาวห : (วิ.) นำมา. อาปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, อ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-800] | 801-823

(0.0606 sec)