Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หยั่งเชิง, หยั่ง, เชิง , then ชง, เชิง, หยง, หยงชง, หยั่ง, หยั่งเชิง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หยั่งเชิง, 92 found, display 51-92
  1. อนาคตสญาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
  2. อนาคตสาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่ มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
  3. อนุคาหต : ก. หยั่งลง, โฉบลง, กระโจนเข้าใส่
  4. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  5. อวกฺกนฺติ : อิต. การก้าวลง, การหยั่งลง, ความปรากฏ
  6. อวคาหติ (โอคาหติ) : ก. หยั่งลง, เข้าถึง
  7. อวตรณ : (นปุ.) การข้ามลง, การหยั่งลง.อวปุพฺโพ, ตรฺตรเณ, ยุ.ส.อวตรณ.
  8. อวตรติ : ก. หยั่งลง, แบ่งภาคลงมาเกิด
  9. อวตาร : (ปุ.) การลง, การหยั่งลง, การข้าม, การข้ามลง, ท่า, ท่าน้ำ, รู, ช่อง, โพรง, ละแวก.อวปุพฺโพ, ตรฺตรเณ, โณ.ส. อวตาร.
  10. อวติณฺณ (โอติณฺณ) : กิต. หยั่งลงแล้ว, อวตารลงมาแล้ว, แบ่งภาคลงมาเกิดแล้ว
  11. อวิค : (นปุ.) ที่ที่บุคคลหนีไม่พ้น, ที่สำหรับเผาศพ, เชิงตะกอน.น+วิ+คมฺธาตุรปัจ.
  12. อเวจฺจ : ๑. กิต. หยั่งลงด้วยปัญญา, หยั่งรู้แล้ว ; ๒. ค. แน่ชัด ; ไม่หวั่นไหว, สมบูรณ์, มั่นคง
  13. อเสส : ก. วิ. โดยไม่มีส่วนเหลือ, สิ้นเชิง
  14. อาธารก : (ปุ.) เชิงบาตรเป็นที่มาทรงไว้, เชิงบาตรเป็นที่รอง, เชิงบาตร.ส. อาธาร.
  15. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  16. อุทฺทาป : (ปุ.) เชิงเทิน. วิ. สพฺพเคหานํ วิเสเสน ปกาสนฺโต อุทฺทาโป. อุปุพฺโพ, ทีปฺ ปกาสเน, อ, รโสฺ, อิสฺสา.
  17. อุปการิกา : (อิต.) เชิงเทิน, วิ. สํคมฺม กโรติ ตนฺติ อุปการิกา. อุปปุพฺโพ, กร. กรเณ, ณฺวุ.
  18. อุปการิย : ป. แนวเชิงเทิน, เชิงกำแพง
  19. อุปจฺจกา : (อิต.) พื้นใกล้ส่วนเบื้องต่ำแห่งภูเขา, พื้นดินเชิงเขา. วิ. เสลสฺส อโธภาคาสนฺน- ภูมิ อุปจฺจกา. อุปศัพท์นิบาต จฺจก ปัจ. อา อิต.
  20. โอกฺกม : (ปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  21. โอกฺกมน : (นปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  22. โอกฺกมฺม : กิต. ก้าวลงแล้ว,หยั่งลงแล้ว
  23. โอคธ : (วิ.) หยั่งลง, นับเข้า, รวมกัน, ถึงที่สุด, วิ. อวคาธตีติ โอคธํ. โอปุพฺโพ, คาธฺ ปติฏฐา ยํ, อ.
  24. โอคยฺห : กิต. หยั่งลงแล้ว, เข้าไปแล้ว
  25. โอคาธ : ๑. นป. ที่ที่มั่นคง; ๒. ค. ซึ่งหยั่งลง, ตั้งมั่น
  26. โอคาห : ป. การหยั่งลง, การโฉบลง, การจมลง
  27. โอคาหติ : ก. หยั่งลง, โผลง
  28. โอคาฬฺห : กิต. หยั่งลงแล้ว, เข้าไปแล้ว
  29. โอจิต : (ปุ.) เชิงตะกอน (ฐานที่ทำขึ้นสำหรับ เผาศพ). อุปุพฺโพ, จิ จเย, โต.
  30. โอตารณ : นป. การก้าวลง, การหยั่งลง
  31. โอตาเรติ : ก. ให้หยั่งลง, ให้ก้าวลง
  32. โอติณฺณ : กิต. หยั่งลงแล้ว, ถูกเสียดแทงแล้ว, หลงรักแล้ว, ยึดติดแล้ว
  33. โอทหน : (นปุ.) การตั้งลง, การหยั่งลง. โอปุพฺโพ. ทหฺธารเณ, ยุ. อถวา, ธาธารเณ. แปลง ธา เป็น ทห.
  34. ฆฏียนฺต : (นปุ.) ถัง, ถังมีสาย, ครุ, โพง (ชง โลง), ชงโลง, แครง ชื่อภาชนะสานสำ- หรับตักน้ำรดต้นไม้ รูปร่างคล้าย หอยแครง มีด้ามยาว. ฆฏีปุพฺโพ, ยา คติปาปุณเนสุ, อนฺโต อโต วา.
  35. คพฺพิต : (วิ.) หยิ่ง, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
  36. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  37. ทปฺป : (วิ.) เขลา, โง่, กระด้าง, หยิ่ง, จองหอง, โอ้อวด, ไว้ตัว, อหังการ. ทา กุจฺฉิตคมเน, อโป, รสฺโส, ปฺสํโยโค. หรือลง อพฺพ ปัจ. แปลง พ เป็น ป.
  38. อกฺโกสติ : ก. ด่า, ติเตียน, แช่ง
  39. อภิสงฺค อภิสฺสงฺค : (ปุ.) การแช่ง, การด่า, คำ แช่ง, คำด่า. อภิปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น งฺ คำหลังซ้อน สฺ.
  40. อภิหรติ : ก. นำมา, นำไป ; ด่า, แช่ง
  41. อุณฺณมติ : ก. ฟูขึ้น, พองขึ้น, ยกตน, หยิ่ง
  42. 1-50 | [51-92]

(0.0397 sec)