Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชุ่ม , then ชม, ชุ่ม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชุ่ม, 59 found, display 1-50
  1. กิลิชฺชติ : ก. เปียก, ชุ่ม, (แผล)เป็นหนอง
  2. กิลินฺน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ซึม, เยิ้ม, หม่นหมอง. กิลิทฺ อทฺทภาเว, โต, อินฺนา เทโส, ทฺโลโป.
  3. กิลิสฺสติ : ก. เปียก, ชุ่ม, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์
  4. ฉว : (วิ.) เลว, ชั่ว, ชั่วช้า, ลามก, ถ่อย, ร้าย, โหด, โหดร้าย, เสื่อม, เปียก, เยิ้ม, ชุ่ม, ตัด, บั่น, ทอน. ฉุ หีนตินฺตเฉทเนสุ, โณ.
  5. ติมิร ติมิล : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก. ติมุ อทฺทภาเว, อิโร. มืด, บอด. ติมุ กํขายํ, อิโร. ศัพท์ หลังแปลง ร เป็น ล.
  6. เตมน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, เยิ้ม. ติมุ อทฺทภาเว, ยุ. ส. เตมน.
  7. อทฺท : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก, แฉะ, อาบ, ซึม.อทฺคติยํ, อาปุพฺโพ วา, ทา อวขณฺฑเน, โท.
  8. อทฺทายเต : ก. เปียก, ชุ่ม
  9. อลฺยอลฺล : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ดิบ, สด, ใหม่อาบ, ซึม. อลฺกลิเล, อโล.รูปฯ ๖๕๙.อภิฯลงลปัจ.ศัพท์ต้นลงยปัจ.
  10. อุนฺทติ : ก. ไหล, ชุ่ม, เปียก
  11. อุนฺน : ค. เปียก, ชุ่ม, ชื้น
  12. สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
  13. อวสฺสุต : (วิ.) ชุ่ม, เปียก.อวปุพฺโพ, สุปสเว, โต.สุทฺ ปคฺฆรเณ, อ. แปลงทเป็นตซ้อนสฺ.
  14. กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
  15. กฺลทน : (นปุ.) ความชื้น, ความชุ่ม, ความเปียก, ความซึม, ความเยิ้ม. กฺลทฺ อลฺลภาเว, ยุ. ส. กฺลทน.
  16. กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
  17. เตมิตุ : อ. (ปฐ., จตุ) การเปียก, การทำให้เปียก, การชุ่มชื้น; เพื่ออันเปียก, เพื่ออันชุ่ม
  18. เตเมติ : ก. ทำให้เปียก, ทำให้ชุ่ม, ทำให้ชื้น
  19. เตลปิโลติก : ป. ผ้าเก่าอันชุ่มด้วยน้ำมัน, ผ้าชุบน้ำมัน
  20. รุทมฺมุข : ค. ซึ่งมีหน้าชุ่มด้วยน้ำตา
  21. สลิลปฺปาย : (ปุ.) ที่มีน้ำมาก, ที่ชุ่มชื้น, ที่อันชุ่มชื้น. วิ. ปาโย พหุลํ สลิลํ เอตฺถาติ สลิลปฺปาโย พหูทกเทโส.
  22. เสทาวกฺขิตฺต : ค. ชุ่มด้วยเหงื่อ
  23. อนุป : (ปุ.) ประเทศอันชุ่มชื้นด้วยน้ำวิ. อนุคตาอาปาอเตฺรติอนุโป.บางมติว่า เป็นไตรลิงค์.ส.อนุป.
  24. อนุสฺสุต : ๑. กิต. ได้ฟังแล้ว, ได้ยินแล้ว ; ๒. ค. ไม่ชุ่ม, ปราศจากราคะ
  25. อนูป : ค. ที่ชุ่มชื้น, ที่แฉะ
  26. อุทเกส : (วิ.) มีผมอันชุ่มแล้วด้วยน้ำ. วิ. อุทเกน ตินฺตเกโส อุทเกโส. อถวา, อุทก ตินฺตาเกสา ยสฺส โส อุทเกโส. ลบ ก ที่ อุทก.
  27. อุสุม : (ปุ.) ไอ, ไอน้ำ, ไออุ่น, ไอชุ่ม, ไออบ, ความร้อน, ฤดูร้อน, อรสุม. เรียกพยัญชนะ ที่มีลมเสียดแทรกออกมาตามฟัน ว่ามีเสียง อรสุม ได้แก่เสียง ศ, ษ, ส. ส.อุษฺม อุษมนฺ.
  28. กิตฺติ : (วิ.) สรรเสริญ, ชม, เล่าลือ.
  29. ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสาฬ : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  30. ทฺวิชมหาสาล : ป. พราหมณ์มหาศาล, คือพราหมณ์ผู้มีทรัพย์ที่เก็บไว้ ๘๐ โกฏิและสำหรับใช้สอย ๑๐ อัมพณะ
  31. ราชมหามตฺต : ป. นายกรัฐมนตรี, มหาอำมาตย์ของพระราชา
  32. กตฺถนา : (อิต.) การชม, การชมเชย, การยก ย่อง, การพรรณา, การอวด, ความชม, ฯลฯ. กตฺถฺ สิลาฆายํ, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  33. กตฺถี : (วิ.) ชม, ชมเชย, ฯลฯ.
  34. กูวร : ค. สวยงาม, มีเสน่ห์, น่าชม
  35. ชมฺพุนท ชมฺพูนท : (นปุ.)ชัมพุนทะ ชัมพูนทะ, ชัมพูนท ชมพูนท ชมพูนุท ชามพูนุท ชามพูนทะ, โชมโพนทะ ชื่อทองพิเศษ ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, ทองชมพุนุท (ทองที่เกิดแทบต้นหว้าเนื้อบริสุทธิ์). วิ. เทวรุกฺขภุตาย มหาชมฺพุยา ปติฏฺฐตฏฺฐาเน นที ชมฺพุนที, ตสฺสํ ปติเตหิ มหาคชปฺป – มาณานํ กุมฺภปฺปมาณานํ วา ผลานํ พีเชหิ ชาตํ สุวณฺณํ ชมฺพุนทํ ชมฺพูนทํ วา. ส. ชามพูนท.
  36. ฐานิย : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นฐานะ, ควรแก่ฐานะ, น่ารัก, น่าชม.
  37. ติตฺต ติตฺตก : (วิ.) ชม, พอ, พอใจ, อิ่มใจ, อิ่มหนำ ( สำราญหรืออิ่มเต็มที่). ติปฺ ปีณเน, โต, ปสฺส โต อถวา, ติสฺ ติตฺติยํ โต, สสฺส โต. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  38. ถวน : (วิ.) ชม, ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ.
  39. ถวนา : (อิต.) ความชม, ฯลฯ. ถุ อภิตฺถเว ยุ.
  40. ถุติ : (อิต.) การชม, การชมเชย, การยกย่อง, การสรรเสริญ, ความชม, ฯลฯ, คำชม, ฯลฯ, ความชอบ, สดุดี. วิ. ถวนฺ ถุติ. ถุ อภิตฺถเว, ติ เป็น ปุ บ้าง. ส. สฺตุติ.
  41. ถุติปาฐก : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวชมคุณ, บุคคลผู้ หมายเหตุความชอบของบุคคล, เจ้าหน้าที่ ผู้หมายเหตุความชอบของบุคคล.
  42. โถม : (ปุ.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
  43. โถมน : (นปุ.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
  44. โถมนา : (อิต.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
  45. ทสฺสนีย : (วิ.) ควรซึ่งอันเห็น, ควรซึ่งอันดู, ควรเพื่ออันเห็น, ควรเพื่ออันดู, น่าดู, น่าชม, งาม, ทัศนีย์, ทรรศนีย์, ทัศไนย. วิ. ทสฺสนํ ทสฺสหตฺถํ วา อรหตีติ ทสฺสนิโย. ทสฺสน+ อียํ ปัจ. ฐานตัท. กัจฯ และรูปฯ ลง อิย ปัจ. ได้รูปเป็น ทสฺสนีย. ทสฺสนีย ที่ เป็นกริยานั้น เป็น ทสฺ ธาตุ อนีย ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ส. ทรฺศนีย.
  46. ทสฺสนีย, - เนยฺย : ค. ซึ่งควรมองดู, ซึ่งควรแก่การเห็น, น่าดู, น่าชม, สวย, งาม
  47. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  48. ปนูติ : (อิต.) ความชม, ความชมเชย, ความสรรเสริญ. ปปุพฺโพ, นุ ถุติยํ, ติ, ทีโฆ.
  49. ปริจย : (ปุ.) การอบรม, การท่อง, การท่อง บ่น, ความชม, ความรู้จักกัน, ความสั่งสม, ความชิน, ความเคยชิน, ความคุ้นเคย, ความอบรม. ปริปุพฺโพ, จิ จเย, อ.
  50. ภทฺท : (วิ.) งาม, ดี. (ตรงข้ามกับชั่ว), ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ, เป็นสุข, เจริญ ,จำเริญ, เรือง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, น่ารัก, น่าชม, สบาย, สำราญ, สวัสดี, เป็นมงคล, หล่อ (งาม). ภทิ กลฺยาณสุขภาเวสุ, โท, รูปฯ ๖๕๕. ดู ภทฺร ด้วย.
  51. [1-50] | 51-59

(0.0182 sec)