Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ด้วย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ด้วย, 1119 found, display 1-50
  1. ปิ : อ. แม้ว่า, ผิว่า, แต่, ถึงกระนั้น, บางที, อย่างไรดี, สมควร, ด้วย, เหมือนกัน
  2. ต : (อัพ. นิบาต.) เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วย เหตุนั้น. เป็นการณัตถนิบาต และ ปูร – ณัตถนิบาต.
  3. เอกมนฺต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, ด้วย แท้, รูปฯ เป็นนิบาตลงในอรรภสัตมี แปล ว่า ในที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ในที่แห่งหนึ่ง, ณ ที่แห่งหนึ่ง.
  4. กฏุมฺพ : (นปุ.) ทรัพย์ กุฏมฺ วตฺตเน. โพ แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ดู กุฏุมฺพ ด้วย.
  5. กณฺณิกา : (อิต.) ยอด, ช่อ, ช่อฟ้า, ต่างหู, ตุ้มหู, ฝัก. วิ. เก สีเส นยตีติ กณฺณิกา. กปุพฺโพ, นยฺ คมเน, ณฺวุ, ยโลโป, อิตฺตํ, ณตฺตํ, ทฺวิตตญฺจ (แปลง อ ที่ น เป็น อิ แปลง น เป็น ณ แล้วแปลงเป็น ณฺณ ด้วย), อิตฺถิยํ อา. ส. กรฺณิกา.
  6. กตญฺญูกตเวที : (ปุ.) บุคคลผู้รู้คุณท่านและ ตอบแทนคุณท่าน, ฯลฯ. ไทยตัดพูดเฉพาะ กตัญญู แต่ความหมาย หมายถึง กตเวที ด้วย.
  7. กาโปต : (ปุ.) นกพิราบ. ดู กโปต ด้วย.
  8. กิปุริส กิมฺปุริส : (ปุ.) บุรุษหรือ, คนหรือ. กึ + ปุริส. บุรุษน่าเกลียด, คนน่าเกลียด. กุจฺฉิต+ปุริส. สัตว์คล้ายบุรุษ, สัตว์คล้าย คน. กิ+ปุริส. ศัพท์หลังลง นิคคหิตอาคม. บุรุษอะไร ๆ วิ. กิญฺจิ ปุริโส กิมฺปุริโส. ดู กินฺนร ด้วย.
  9. กุญฺจนาท : (ปุ.) เสียงร้องแห่งช้าง, เสียงบันลือ แห่งช้าง. วิ. คชานํ นาโท กุญฺจนาโท นาม. ใช้ คช แทน กุญฺจ. ดู โกญฺจนาท ด้วย.
  10. กุธาร : (ปุ.) ขวาน, ขวานถาก, ผึ่ง, ดู, กุฐารี ด้วย.
  11. กุลิตฺถี : (อิต.) หญิงควรแก่ตระกูล, หญิงผู้คู่ควรแก่ตระกูล. วิ. กุลานุรุปา อิตฺถี กุลิตฺถี. หญิงแห่งตระกูล วิ. กุลสฺส อิตฺถี กุลิตฺถี. ดูกุลธีตุ ด้วย.
  12. โกนฺต : (ปุ.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, อ. แปลง อ ที่ ก เป็น โอ. ดู กุนฺตนี ด้วย.
  13. โกหญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยัง สกุลให้พิศวง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยังโลก (ชาวโลก) ให้พิศวง. วิ. กุหกสฺส ภาโว โกหญฺญํ. กุหก+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง กฺย เป็น ญฺญ ดูโกสชฺช ด้วย.
  14. คฬ : ป. หยาด; ปม; ขอ; ดู คล ด้วย
  15. โคฏฺฐ : (นปุ.) ที่เป็นที่ดำรงอยู่ของโค, คอกโค. วิ. คาโว ติฏฺฐนฺตฺยตฺราติ โคฏฺฐ. โคสทฺทุปทํ. ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺสํโยโค. ดู คุฏฺฐ ด้วย.
  16. จิ : (อัพ. นิบาต) เมื่อ, บางที. ดู จน ด้วย.
  17. จิร : (อัพ. นิบาต) นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน, ยืนนาน, สิ้นกาลนาน, สิ้นกาลช้านาน. ลงในทิฆกาล รูปฯ ๒๘๒ อภิฯ เป็นสัตมี ด้วย แปลว่า ในก่อน, ในกาลก่อน.
  18. ชาติรส : (ปุ.) ไฟ, เปลวไฟ. ดู ชาตเวท ด้วย
  19. ทกฺขิณนิกาย : (ปุ.) นิกายฝ่ายใต้, ทักษิณ นิกายชื่อนิกายสงฆ์ฝ่ายใต้ ( เอาแคว้นมคธ ของชมพูทวีป ( อินเดีย ) เป็นศูนย์กลาง การนับ ) คือนิกายหินยาน ( หีนยาน ) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เถรวาท. ดู เถรวาท ด้วย.
  20. ทิน : (ปุ.) คนเข็ญใจ, คนยากจน. ทิ ที วา ขเย, อิโน. ดู ทิน ด้วย.
  21. ทูตี : (อิต.) หญิงอัน...ส่งไป, หญิงนำข่าว, ทูตหญิง, ทูตี (หญิงผู้นำข่าวไปเจรจา). และ ยังแปลว่าแม่สื่อ, หญิงแม่สื่อ ด้วย.
  22. ธุมเกตุ : (ปุ.) ดาวหาง, ดาวตก, ไฟ, ดู ธูมเกตุ ด้วย.
  23. นิพฺพนถ : ค. ซึ่งปราศจากความมักมาก, ซึ่งหมดความอยากได้, อันไม่มีความรักใคร่, (ดู นิพฺพน ด้วย)
  24. ปถม : (วิ.) ก่อน, แรก, เบื้องต้น, ครั้งแรก, ทีแรก, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, ต้น, เบื้องต้น, เป็นประธาน. ดู ปฐม ด้วย.
  25. โปตวาห : (ปุ.) ต้นหน, นายท้าย. โปตปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณ โณ. แปลว่า ลูกเรือ กลาสี ฝีพาย ด้วย.
  26. ผลคณฺฑ : (ปุ.) ช่างไม้. ดู ปลคณฺฑ ด้วย.
  27. พกุล : (ปุ.) ไม้พิกุล, ต้นพิกุล. ดู วกุล ด้วย.
  28. พลาหก : (ปุ.) เมฆ. ดู วลาหก ด้วย.
  29. พาหน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องนำไป, ยาน. ดู วาหน ด้วย.
  30. ภทฺท : (วิ.) งาม, ดี. (ตรงข้ามกับชั่ว), ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ, เป็นสุข, เจริญ ,จำเริญ, เรือง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, น่ารัก, น่าชม, สบาย, สำราญ, สวัสดี, เป็นมงคล, หล่อ (งาม). ภทิ กลฺยาณสุขภาเวสุ, โท, รูปฯ ๖๕๕. ดู ภทฺร ด้วย.
  31. ภาตพฺย : (ปุ.) ลูกของพี่ชาย วิ. ภาตุโน ปุตฺโต ภาตโพฺยฺ. ณฺย ปัจ. โคตตตัท. แปลง อุ ที่ ตุ เป็น อว ว เป็น พ ลบ อ ที่ ว ด้วย อำนาจ ณฺ ลบ ณฺ รูปฯ ๓๕๕.
  32. ภิยฺโย : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, ยิ่งขึ้น, ยิ่งขึ้นไป, โดยยิ่ง, อีก, เกิน, มาก, เศษ (สิ่งที่เกิน), นัก, หนักเข้า. รูปฯ ว่าลงใน ปฐมา ทุติยา ด้วย.
  33. มญฺญนา : (อิต.) กิริยาที่ถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความถือตัว. มนฺ ญาเณ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง นฺย เป็น ญฺญ ยุ เป็น อน. แปลว่า ความสำคัญความเข้าใจ ด้วย.
  34. มณฺฑิร : (ปุ. นปุ.) เรือน, เรือนหลวง, นคร, เมือง, เมืองหลวง, กรุง, ที่อยู่, มณเฑียร, ดู มนฺทิร ด้วย.
  35. มหายาน : (ปุ.) มหายาน ชื่อนิกายของคณะสงฆ์ในพระพุทธเจ้าศาสนาฝ่ายเหนือ เช่น ประเทศจีน ญวน ญี่ปุ่น เป็นต้น คู่กันกับหีนยาน ซึ่งเป็นนิกายของคณะสงฆ์ฝ่ายใต้ ดู หินยาน ด้วย.
  36. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  37. สาธารณ : (วิ.) สามัญ, ทั่วไป. วิ. สมํ อาธาริยนฺติ ตสฺมินฺติ สาธารณํ. สมสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ธารฺ ธารเณ, ยุ. สห ธารเณน วตฺตตีติ วา สาธารณํ (เป็นไปกับด้วยการทรงไว้). สาธารณ์ ไทยใช้เป็นเสสน์ในความว่า ต่ำ, เลว ด้วย. ส. สามานฺย.
  38. สิตา : (อิต.) รอยไถ. สิ สเย, โต, อิตฺถิยํ อา. เสนฺติ ฆราวาสํ เอตายาติ สิตา. สิ พนฺธเน. สิตา นารี. ดู สีตา ด้วย.
  39. เสตปณฺณิ : (อิต.) ไม้หมากลิง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง มีต้นและผลคล้ายหมาก, มะดูก ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ผลขนาดไข่ไก่ กินได้, มะลื่น ต้นกระบก ตระบด ก็เรียก. ดู เสปณฺณิ ด้วย.
  40. อญฺชลิกรณีย อญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์) ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ. วิ. อญฺชลิ กรณิโย ยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุล อญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย. ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก พึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก ทำ. วิ. อญฺชลิกมฺมํ กรณํ อญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํ อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิ กรณิโย. อียปัจ. ฐานตัท. ผู้ควรแก่อัญ ชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควร แก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ. วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อรหตีติ อญฺชลิกรณิโย. เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลี กรรมอันสัตว์โลกทำ วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติ อญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่ อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ โดยไม่หัก วิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็น อญฺชลิกรณี โย แต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์ เป็น อญฺชลีกรณิโย พึงสวดให้ถูกต้อง ด้วย.
  41. อปาปุรณ อปาปูรณ : (นปุ.) กุญแจ, ดาล, ดาฬ (กลอนประตู). ดู อวาปูรณ ด้วย.
  42. อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
  43. อีสธร : (ปุ.) อีสธร ชื่อภูเขาสัตตปริภัณฑ์ ลูก ๑ ใน ๗ ลูก, ภูเขาอีสธร. วิ. อีสํ มหิสฺสรํ ธาเรติ ตสฺส นิวาสนฏฺฐาน ตาติ อีสธโร. อีสปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ. ดู อิสธร ด้วย.
  44. อุปปตฺติ : (อิต.) การเข้าถึง, ความเข้าถึง, อุปบัติ. อุปปุพฺโพ, ปทฺ, คติยํ, ติ. ดู อุปฺปตฺติ ด้วย.
  45. อุปวยฺห : (ปุ.) ช้างพระที่นั่ง. ดู โอปวยฺห ด้วย.
  46. เอตฺตาวตา : (อัพ. นิบาต) ด้วย...ประมาณเท่านี้.
  47. กญฺจนปฏฏ : นป. ผ้าโพกศีรษะหรือมงกุฎที่ทำด้วยทอง
  48. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  49. กฏฐตฺถร : นป. เตียงไม้, เสื่อที่ทำด้วยแขนงไม้
  50. กฏฐตุมฺพ : ป. คนโทน้ำทำด้วยไม้, ทะนานไม้
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1119

(0.0666 sec)