ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
ภฏ : (ปุ.) คนอันท่านเลี้ยง, คนที่เขาเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, พลรบ, นักรบ, อำมาตย์. กฏฺ ภตฺยํ, อ.
กึกร, กิงฺกร : ป. คนที่ทำกิจอะไรๆ ได้, คนใช้, บ่าว, ทาส
ปริจาริก : (ปุ.) คนรับใช้, คนบำเรอ, ทาส, บ่าว, ทาสรับใช้. ปริปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ณิโก.
กุฏุมฺพี : (ปุ.) คนมีทรัพย์, กุฏุมพี กระฏุมพี (คนมั่งมี, พ่อเรือน). ไทยใช้ กระฏุมพี หมายถึงคนชั้นเลวชั้นต่ำก็มี เช่น ไพร่ กระฏุมพี.
เปสการก : ป. บ่าว
กึกร กึการ : (ปุ.) คนใช้ (คนรับใช้), ทาส, บ่าว. วิ. กิญฺจิ กโรตีติ กึกโร กึกาโร วา. กึปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, โณ. อห มชฺช กึ กริสฺสามีติ ภตฺตุ กตฺตพฺพกิจฺจยาจนตฺตา วา กึกาโร. ส. กึกร กิงฺกร.
เจฏ เจฏก : (ปุ.) คนใช้ ( เขาใช้ไป ), ทาส, บ่าว. จิฏฺ เจฏฺ วา เปสเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. เจฏก.
เปสฺส : (ปุ.) บุคคลอันบุคคลส่งไป, คนรับใช้, ทาส, บ่าว. วิ. เปสียเตติ เปสฺโส. ปิสฺ เปสนีเย, โณ, สสฺส ทฺวิตฺตํ.
กายเวยฺยาวจฺจ : นป. การรับใช้ทางกาย; การช่วยเหลือด้วยกาย; หน้าที่บ่าว, หน้าที่ของคนใช้
เจฎี : (อิต.) หญิงคนใช้, หญิงรับใช้, บ่าวผู้หญิง, ทาสี.
ทาสพฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบ่าว, ฯลฯ. วิ. ทาสสฺส ภาโว ทาสพฺยํ พฺย ปัจ. หรือ ณฺย ปัจ. วุ อาคมท้ายศัพท์.
ทาสี : (อิต.) บ่าวผู้หญิง, หญิงที่เป็นบ่าว, คนรับใช้หญิง, คนใช้หญิง, หญิงคนใช้, ทาสหญิง. วิ. ทุกุจฺฉิตํ อสตีติ ทาสี. ทุปุพฺโพ, อสฺ อทเน, อ. แปลง อุ เป็น อา อี อิต. ทิยฺยนฺเต เอตายาติ ทาสี. ฎีกาอภิฯ เป็น ทียนฺเต ทา ทาเน, โส, อิตฺถิยํ อี. ส. ทาสี.
ปริณย : (ปุ.) งานบ่าวสาว, วิวาหะ, วิวาห มงคล. ปริปุพฺโพ, นิ นเย, อ.
อธินอธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่ายผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย.อธิคโตอิโนปภูเยนาติอธีโน.อธีน
อธิน อธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่าย ผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย. อธิคโต อิโน ปภูเยนาติ อธีโน. อธีน
อภิเสกเคหปฺปเวสนวิวาหมงฺคล : (นปุ.) มงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเข้าไปสู่เรือนเป็นที่อภิเษกและมงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเจ้าบ่าวไปสู่เรือนอื่น(เรือน ฝ่ายเจ้าสาว).
อุปยม : (ปุ.) งานบ่าวสาว. อุปปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม กีฬายํ วา, อ. ส. อุปยม อุปยาม.
โกทุมฺพร : (นปุ.) ผ้าเปลือกไม้. กุช+ตจ+ชาต+ อมฺพร. ลบ ตจ ชาต พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง ช เป็น ท อ เป็น อุ.
คคนมฺพร : (นปุ.) ฟ้า, ท้องฟ้า. คคน+อมฺพร.
ทิคมฺพร : (ปุ.) คนผู้มีผ้าคือทิศ, คนนุ่งทิศ, คนเปลือย, นิครนถ์. วิ. ทิสา เอว อมฺพรํ วตฺถํ, น ปกติวตฺถ เมตสฺสาติ ทิคมฺพโร. แปลง ส เป็น ค. ส. ทิคมฺพร.
ทิฆมฺพร : (นปุ.) ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน. ทีฆ+อมฺพร รัสสะ อี เป็น อิ. ส. โวฺยมนฺ.
สมฺพร : (ปุ.) สมพร ชื่ออสูรพิเศษ วิ. สํ ปสตฺโถ วโร ชามาตา ยสฺส โส สมฺพโร.
อมฺพร : (นปุ.) อากาศ, กลางหาว, เวหาส, ฟ้า, อัมพร.อมฺพฺสทฺเท, โร.ส.อมฺพร.
อาสิวาท : ป. การประสานพร, พร
อุทุมฺพร : (ปุ.) มะเดื่อ, ต้นมะเดื่อ. อุปุพฺโพ, ทุพฺพิ หึสายํ, อโร, นิคฺคหิตาคโม, เอกสฺส พสฺส โลโป. ส. อุทุมฺพร.
กพฺพร : (ปุ.) ทูบ ชื่อไม้แม่แคร่เกวียนที่ยื่น ออกไปติดกับแอก, หัวเกวียน. วิ. กํปฐวึ วุโนติ ฉาทยตีติ กุพฺพโร. กุปุพฺโพ, วุ สํวรเณ, โร อสฺสตฺตํ, วสฺส โพ (แปลง อุ ที่ วุ เป็น อ แปลง ว เป็น พ), พฺสํโยโค.
กเลพร , กเลวร : นป. ร่างกาย, อัตภาพ, ซากศพ
กเลวร กเลวฬ กเลพร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ซากศพ, ซากผี, ขั้น วิ. กเล วรตีติ กเลวรํ. กลปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, อ. ไม่ลบ วิภัตติ บทหน้า. ส. กลเวร.
กเฬพร, - วร : ป., นป. ร่างกาย, อัตภาพ, ซากศพ
กาฬกพร : ค. กระดำกระด่าง, มีตัวด่างพร้อย
กุฏุมฺพร : (นปุ.) ผ้าเปลือกไม้.
กุพฺพร : นป. ทูบเกวียน
กุมฺพร : (ปุ.) ทูบ, หัวเกรียน. กุปุพฺโพ, วุสํวรเณ, โร, อุสฺสตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม.
โกฏมฺพร : (นปุ.)ผ้าทำด้วยขนสัตว์เนื้อละเอียด วิ. มิคโลมานิ โกฏฺเฏตฺวา สุขุมานิ กตฺวา กต มมฺพรํ โกฏมฺพรํ. ผ้าเกิดในรัฐโกฏุม- พระ วิ. โกฏุมฺพรฏฺเฐ ชาตตฺตา โกฏุมฺพรํ.
โฏฏมฺพร : นป. ผ้าอย่างดี, ผ้าทอด้วยขนสัตว์มีเนื้อละเอียด
อาลมฺพร : (ปุ.) กลองเทศ, เปิงมางชื่อกลองชนิดหนึ่งขึงหนังทั้งสองหน้าสำหรับตีเข้ากับปี่พาทย์.วิ.อาลมฺพอิติสทฺทายเตติอาลมฺพโร.รปัจ.
อินฺทมฺพร อินฺทวร อินฺทิราวร อินฺทีวร : (ปุ.) บัวเขียว, บัวสีน้ำเงิน, นิลจง.
โอทุมฺพร : (วิ.) มีอยู่ไม่ไกลแต่ต้นมะเดื่อ วิ. อุทุมฺพรสฺส อวิทูเร ภวํ โอทุมฺพรํ.
วร : ๑. ค. ประเสริฐ, ยอดเยี่ยม ;
๒. ป. พร
คเทร : (ปุ.) เมฆ (มีเสียงกระหึ่ม). คทฺ เทวสทฺเท, อิโร. ส. คทามฺพร.
ฆวน : (นปุ.) การประกาศ, การป่าวร้อง. ฆุ สทฺเท, ยุ.
ฆาวก : (ปุ.) คนผู้ประกาศ, คนผู้ป่าวร้อง, คน ผู้โฆษณา. ฆุ สทฺเท, ณฺวุ.
ฆุฏฐ : ค. โฆษณาแล้ว, ประกาศแล้ว, ป่าวร้องแล้ว
ฆุสติ : ก. ออกเสียง, ประกาศ, ป่าวร้อง
โฆสก : (นปุ.) คนผู้ประกาศ, คนผู้ป่าวร้อง, คนโฆษณา, คนแถลงข่าว. ส. โฆษก.
โฆสา : (อิต.) เสียง, เสียงกึกก้อง, เสียงป่าวร้อง, ความกึกก้อง. ฆุสนํ โฆโส. ฆุสฺ สทฺเท, โณ.
โฆสาเปติ : ก. ให้ประกาศ, ให้ป่าวร้อง
โฆสิต : ค. อันเขาประกาศแล้ว, อันเขาป่าวร้องแล้ว
ทาส : (ปุ.) ป่าว, คนรับใช้, คนใช้, ทาส. โบราณเขียน ทาษ. วิ ทาสนฺเตตสฺสาติทาโส. ทาสุ ทาเน, อ. ทาตพฺโพติ วา ทาโส. ทา ทาเน, โส. ส. ทาส.