วิตจฺเฉติ : ก. ถาก, ปอก
กิตฺเตติ : ก. ยกย่อง, สรรเสริญ, ประกาศคุณ; บอก, แสดง
ปฏิหรติ : ก. นำกลับ, กลับคืน; บอก, แจ้งให้ทราบ
ปภาสติ : ก. ส่งแสง, ฉายแสง, สว่าง; กล่าว, พูด, บอก, เจรจา, ประกาศ
ปาวทติ : ก. พูด, บอก, แสดง
ภาส : (วิ.) กล่าว, บอก, พูด. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, อ.
อกฺขติ : ก. กล่าว, บอก, ประกาศ
อธิภาสติ : ก. พูด, บอก, กล่าว
อนุทิฏฺฐ : ๑. นป. การเจาะจงให้, การอุทิศ ;
๒. ค. แสดง, บอก; อุทิศให้
กถาเปติ : ก. ให้กล่าว, ให้บอก
กถามคฺค : ป. กถามรรค, การบอกเล่า, ประวัติ
กายวิญฺญตฺติ : อิต. กิริยาให้รู้ชัดด้วยการไหวกาย, การแสดงออกทางกาย, การบอกกล่าว, การชี้แจง
กาล (ปฺ) ปเวทน : นป. การบอกเวลา, การแพร่ข่าว, การตาย
กีว กีวตก : (อัพ. นิบาต) เพียงไร, เท่าไร. บอกปริจเฉท ปุจฉกะ และปทปูรณะ. กึ ศัพท์ รีว รีวตกํ ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์.
ขมาปน : นป. การบอกให้ยกโทษให้, การให้ขอขมา
ขมาเปติ : ก. บอกให้ยกโทษให้, ขอโทษ, ขออภัย
จีวรสงฺกมนีย : นป. จีวรที่ต้องส่งคืน, จีวรของผู้ที่ตนนำมาใช้โดยไม่บอกเจ้าของจำต้องส่งคืนเจ้าของเดิม
ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
ญาปน : (นปุ.) การยัง...ให้รู้, การบอกให้รู้, การเผดียง การประเดียง ( บอกให้รู้ ).
ทกฺขิณานุสฺสรณ : (นปุ.) ทักขิณานุสรณ์ ทักษิณานุสรณ์ ชื่อของการทำบุญครบ ๗ วัน นับแต่วันมรณะ มักทำเป็นการบอก แขกใหญ่ ที่เรียกว่า สัตตมวาร สัตมวาร ( ครบเจ็ดวัน ).
ทิสากาก : ป. กาบอกทิศ, กาที่เขานำไปกับเรือเพื่อบอกทิศทางบกในเวลาเรืออยู่ในทะเล
ทูต : (ปุ.) บุคคลผู้อัน..ส่งไป, คนนำข่าว, ทูต (ผู้นำข่าวสารไปบอก ผู้นำข้อความไป แจ้งทั้งสองฝ่าย ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน). วิ. โย เปสียเต โส ทูโด. ทุ คมเน, โต, ทีโฆ. ส. ทูต.
ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
นกฺขตฺตปาฐก : ป. โหร; ผู้บอกฤกษ์, นักดาราศาสตร์
นาฬิก : (ปุ.) แปลเหมือน นาลิ. นาฬิ. ส. นาฑิกา ว่า นาฬิกา ชื่อสิ่งที่บอก เวลา ทุ่ม โมง.
นาฬิกา : (อิต.) แปลเหมือน นาลิ. นาฬิ. ส. นาฑิกา ว่า นาฬิกา ชื่อสิ่งที่บอก เวลา ทุ่ม โมง.
นิกฺขิปติ : ก. วางไว้, เก็บไว้, เลิก, ถอน, บอกคืน
ปจฺจกฺขาติ : ก. กล่าวตู่, บอกปัด, ไม่ยอมรับ, บอกคืน
ปจฺจกฺขาน : นป. การกล่าวตู่, การบอกปัด, การบอกคืน
ปจฺจาเทส : ป. การบอกคืน, ไม่ยอมรับ
ปฏิวฺยาหรติ : ก. บอกคืน, เลิก, หยุด
ปฏิเวเทติ : ก. ให้รู้เฉพาะ, บอกให้ทราบ, ประกาศ
ปเวทน : นป. การประกาศ, การบอก, การกล่าว, การแจ้งให้ทราบ
ปเวทิต : ค. อันเขาประกาศแล้ว, บอกให้ทราบแล้ว, สอนแล้ว
ปเวเทติ : ก. ประกาศ, บอกให้ทราบ, แจ้งให้รู้
ปาวุส : ป. ฝน, ฤดูฝน; ปลากระบอก
ปุพฺพนิมิตฺต : (นปุ.) ลางที่เกิดก่อน, ลางที่บอกเหตุขึ้นก่อน, นิมิตที่เกิดก่อน, บุพนิมิต.
พฺราหฺมณวาจนก : นป. การบอกคัมภีร์พระเวทโดยพราหมณ์, หอสวดมนต์ของพราหมณ์
ภณน : (นปุ.) การออกเสียง, การกล่าว, การพูด, การบอก. ภณฺ สทฺเท, อ, ยุ . ศัพท์ที่ ๒ แปลง ณ เป็น น.
ภณ ภน : (ปุ.?) การออกเสียง, การกล่าว, การพูด, การบอก. ภณฺ สทฺเท, อ, ยุ . ศัพท์ที่ ๒ แปลง ณ เป็น น.
ภาณ : (นปุ.) การบอก, การกล่าว, การพูด, การสวด. ภณฺ สทฺเท, โณ.
ภาณก : (วิ.) ผู้บอก, ฯลฯล ณฺวุ ปัจ.
ภาณินี : (อิต.) หญิงผู้บอก, ฯลฯ.
ภาณี : (วิ.) ผู้บอก
มคฺคกฺขายี : ค. ผู้บอกทาง
มรณปณฺณ : (นปุ.) หนังสือบอกการตาย.
โยชนา : (อิต.) การประกอบ, การผูก, การประสม, การแต่ง, การรวบรวม, โยชนา ชื่อหนังสือที่ท่านแต่งรวบ รวมอรรถบอกวิเคราะห์บอกสัมพันธ์ เป็นต้น.
วาจก : ป. ผู้กล่าว, ผู้บอก
วาเจติ : ก. บอก, สอน
วิญฺญตฺติ : อิต. การบอกกล่าว, การขอร้อง, การรายงาน