พลี : (วิ.) มีกำลัง. พล+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
พลิ : (ปุ.) ภาษี, อากร (ค่าธรรมเนียมอย่างหนึ่งซึ่งรัฐบาลเรียกเก็บ). วิ. พลนฺติ อเนนาติ พลิ. ปาณเน, อิ.
พลีน : ป. แมงป่อง
พลียกฺข : (ปุ.) เหยี่ยวนกเขา.
พลียติ : ก. มีกำลัง, มีกำลังเหนือ, ครอบงำ
โกฏิสิมฺพลี : (ปุ.) ไม้งิ้วป่า. เป็น กสิมฺพล บ้าง.
กมฺพลี : ค. ผู้มีผ้าขนสัตว์
กมฺพลีย : นป. ผ้าขนสัตว์ชนิดหนึ่ง
กุฏสิมฺพลี, (โกฏิสิมฺพลี) : อิต. ไม้งิ้วป่า
กูฏสิมฺพลี : ป. ไม้งิ้วป่า
เกสกมฺพลี : ค. ผู้ห่มผ้ากัมพลที่ทำด้วยผมมนุษย์ (หมายถึงอชิตเกสกัมพล)
ฉิมฺพลี : (ปุ. อิต.) ไม้งิ้ว,ไม้งิ้วบ้าน. สพิ มณฺฑเล, อลี, นิคฺคหิตาคโม, สสฺส โฉ, อสฺสิตฺตํ.
ทาฐาพลี : ค. ผู้มีเขี้ยวเป็นกำลัง, ผู้มีกำลังอยู่ที่เขี้ยว (หมายถึงราชสีห์)
พล : (นปุ.) ใบ, ใบไม้, ส่วน, ส่วนแบ่ง,ฝัก, ฝักดาบ, ท่อน, ตอน, กลีบ, กลีบดอกไม้. วิ. ทลตีติ ทลํ วิกสเน, อ. เป็น ทลฺล บ้าง ส. ทล.
สิมฺพลี : (ปุ. อิต.) ไม้งิ้ว, ไม้งิ้วบ้าน. อลี ปัจ. ส่วนมากใช้อิต. เรียกว่าที่อยู่ของพญาครุฑว่าวิมานสิมพลี หรือวิมานฉิมพลี.
ยชน : (นปุ.) อันบูชา, การบูชา, การบวงสรวง, พลี. ยชฺ เทวปูชายํ, ยุ.
พลิกมฺม, พลิกรณ : นป. เครื่องพลีกรรม, เครื่องสังเวยเทวดา, เครื่องบูชาภูตเทวดาและผู้ควรรับเครื่องบูชาอื่นๆ
พลิการก : ค. ผู้กระทำพลีกรรม, ผู้ถวายเครื่องสังเวย
พลิปฏิคฺคาหก : ค. ผู้รับเครื่องบูชา, ผู้รับพลีกรรม เช่น พวกพราหมณ์, ผู้เก็บภาษี
พลิมนฺตุ : ค. ผู้ได้รับพลีบูชา
เทวตาพลิ : อิต. เทวดาพลี, พลีเพื่อเทวดา, การทำบุญอุทิศให้เทวดา, การบวงสรวงเทวดา
ตณฺฑุลโหม : นป. การทำพลีกรรมด้วยข้าวสาร (คือการเอาข้าวสารเผาไฟบูชายัญ)
เตลโหม : นป. การทำพลีกรรมด้วยน้ำมัน (คือการเอาน้ำมันราดไฟหรือจุดไฟบูชายัญ)
พลิกมุม : (นปุ.) การทำการบูชา, การทำการเซ่น, เครื่องบูชา, เครื่องบูชาแห่งศาสนา, เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวยเทวดา, เครื่องพลีกรรม, พลีกรรม (การบูชา พิธีบูชา).
สมี : (อิต.) สมี (สะหมี) ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ในพิธีพลีกูณฑ์. วิ. คณฺฑํ สเมตีติ สมี. สมุ อุปสเม. อี อภฯ ลง อิ ปัจ. คำ สมี(สะหมี) ในภาษาไทยใช้เรียกภิกษุผู้ต้องอาบัติปาราชิกไม่ใช้คำที่มาจากภาษามคธ.
อนุยาคี : ค. ผู้บวงสรวง, ผู้บูชา, ผู้ทำพลี
อหาปิต : กิต. ไม่พลีบูชา, ไม่เซ่นสรวง
พลิพทฺท พลิวทฺท : (ปุ.) โคมีกำลังอันเจริญ, โคใช้งาน, โคถึก (เปลี่ยว หนุ่ม), โคผู้เนื่องแล้วด้วยกำลัง, โคผู้. วิ. พลํ วทฺธยตีติ พลิวทฺโท พลิพทฺโท วา. พลปุพฺโพ, วทฺธฺ วฑฺฒนปูรเณสุ, อ. แปลง ธ เป็น ท.
พลจกฺก : ๑. นป. พลจักร์, ความเป็นไปหรือแผ่ไปแห่งอำนาจ;
๒. ค. ซึ่งมีอำนาจสูงสุด, มีอำนาจในการปกครอง
พลนายก : (ปุ.) บุคคลผู้นำพล, แม่ทัพ.
พลิปุฏฺฐ : (ปุ.) กา, นกกา. วิ. พลินา ปุฏฺโฐ ภโต แปลง ตฺ เป็น ฏฺฐ ลบ สฺ หรือแปลง ต กับ สฺ เป็น ฏฺฐ.
พลิส พฬิส : (ปุ.) เบ็ด. พลฺ สํวรเณ, อิโส.
พลโกฏฺฐก : (นปุ.) เขตทหาร.
พลคุมฺพ : ป. แถวทหาร
พลชา : อิต. หญิงงาม; ภาคพื้น, แผ่นดิน
พลตา : อิต. ความมีกำลัง, ความมีอำนาจ
พลติ : ก. อยู่
พลทาน : นป. มีกำลัง, มีอำนาจ
พลทายี : ป. เทพผู้ให้กำลัง
พลเทว : ป. พลเทพ, เป็นชื่อของบุตรคนที่สองของนางเทวคัพภาและอุปราชชื่อสาคร
พลวาหน : นป. ทหารและยานพาหนะ, กองทัพ
พลวีร : ป. ผู้มีกำลังยิ่ง, ผู้มีกำลังมาก, ผู้เป็นเยี่ยมในทางมีกำลัง
พลหา : อิต. เสลด
พลิปีฬิต : ค. ถูกเบียดเบียนด้วยภาษี, มีความเดือดร้อนเพราะถูกเก็บภาษี
พลิปุฏฺฐ : ป. นกกา, กา
พลิพทฺท, - พทฺธ : ป. วัวตัวเนื่องด้วยกำลัง, วัวมีกำลัง, วัวถึก, โคผู้
พลิพทฺธ : (ปุ.) ตุ๊กตาวัว.