Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาษาเขียน, เขียน, ภาษา , then ขยน, เขียน, ภาษ, ภาษา, ภาษาเขียน, ภาสา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษาเขียน, 90 found, display 1-50
  1. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  2. กาก : (ปุ.) กา. นกกา, อีกา (ภาษาพูด). คำ กา นกกา นี้เดิมเขียน กาก์ นกกาก์ ปัจจุบันเขียน กา ตามพจนาฯ วิ. กาติ (กา อิติ) สทฺทํ กโรตีติ กาโก. กาปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กฺวิ. กา สทฺเท วา, โก. กกฺ โลลิเย วา, โณ. ส. กาก.
  3. ปาลิ, ปาฬิ : อิต. แถว, แนว, สะพาน; ระเบียบ, แบบแผน; คัมภีร์ชั้นพุทธพจน์, ภาษาที่ใช้เขียนพระพุทธพจน์
  4. จิตฺเตติ : ก. วาด, เขียน, ทำให้วิจิตร, ทำให้เป็นสีต่างๆ
  5. นิรุตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องนำออก, ภาษา, คำพูด. ติปัจ.
  6. ภารตี : (อิต.) ถ้อยคำ, คำพูด, ภาษา, ภารดี.
  7. วาณี : อิต. ถ้อยคำ, ภาษา
  8. อุลฺลิขติ : ก. หวี, ขูด, ขีด, เขียน
  9. ตนฺติภาสา : (อิต.) ภาษันแบบแผน, ถาษาที่มี แบบแผน. เช่น ภาษามคธ สันสกฤต และละติน.
  10. กมฺมนิ : ป. ช่างเขียน
  11. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  12. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  13. เกลาส : (ปุ.) เกลาสะ ไกลาส ชื่อภูเขา วิ. เก ชเล ลาโส ลสนํ ทิตฺติ อสฺสาติ เกลาโส. ลสฺ กนฺติยํ, โณ. ไทยเขียน ไกรลาส เพราะแทรก ร เข้ามา. ส. ไกลาส.
  14. ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  15. ขมน : (นปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  16. ขมา : (อิต.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  17. คคเนจร : (ปุ.) ดาว, ผีฟ้า, แกงได คือรอยกากบาทหรือขีดเขียนซึ่งคนไม่รู้หนังสือ ขีดเขียนไว้เป็นสำคัญ.
  18. คณาจริย : (ปุ.) อาจารย์ของหมู่, คณาจารย์ (อาจารย์ของมหาชน). ภาษาพูด เรียก พระที่มีวิชาอาคมขลังว่าพระคณาจารย์ ซึ่งมีความหมายไม่ตรงกับศัพท์นี้.
  19. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  20. คุคฺคุล คุคฺคุฬ คุคฺคฬุ คุคฺคุฬุ : (ปุ.) ไม้กำกูน, ไม้กำคูน(สองชื่อนี้ เป็นไม้อย่างเดียวกัน), ภาษาเก่าใช้ว่า คำคูน คำคูล. คูน ต้นคูน (ดอกเป็นช่อยาวสีเหลืองราชพฤกษ์ก็เรียก). โรคหรเณ คุรุโนปิ เวชฺชสฺส คุรุ คุคฺคุฬุ.
  21. จิตฺตกมฺม : (นปุ.) การทำให้งาม, กรรมอันงาม, กรรมอันวิจิตร,จิตรกรรม.ไทยใช้จิตรกรรม ในความหมายว่า ศิลปการวาด เขียนศิลป การวาดภาพ ภาพเขียนที่สวยงาม.
  22. จิตฺตกร : (ปุ.) คนผู้ทำให้วิจิตร, ช่างเขียน, ช่าง วาดเขียน, ช่างวาดภาพ, จิตรกร. วิ. จิตฺตํ กโรตีติ จิตฺตกโร. จิตฺตปุพโพ, กรฺ กรเณ, อ.
  23. จิตฺตการ : (ปุ.) ช่างเขียน, ฯลฯ. ณ ปัจ.
  24. จิตฺตสาลา : อิต. ศาลาอันวิจิตร, ศาลาที่มีภาพเขียนสวยงาม, โรงแสดงภาพ
  25. จิตฺตาคาร : นป. เรือนอันวิจิตร, เรือนที่มีภาพเขียนสวยงาม, อาคารแสดงภาพ
  26. จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
  27. จีร : (นปุ.) การเขียน, การตกแต่ง, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าปิดของลับ, ตะเข็บผ้า, ขนสร้อย ( ขนที่คอสัตว์เป็นพวงงาม?) พวงมาลัย, ตะกั่ว.
  28. จุลปิตุ จุลฺลปิตุ จุฬปิตุ จูฬปิตุ : (ปุ.) บิดาน้อย, อา ( น้องของพ่อ แต่ก่อนเขียนอาว์ ).
  29. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  30. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  31. ทาส : (ปุ.) ป่าว, คนรับใช้, คนใช้, ทาส. โบราณเขียน ทาษ. วิ ทาสนฺเตตสฺสาติทาโส. ทาสุ ทาเน, อ. ทาตพฺโพติ วา ทาโส. ทา ทาเน, โส. ส. ทาส.
  32. ทีฆ : (วิ.) ยาว, นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน ยืน นาน (สิ้นความเสื่อม). คำนี้ มักเขียนผิด เป็นทีฆ พึงระวัง. ที ขเย, โฆ. ส. ทีรฺฆ.
  33. ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
  34. โทณี : (อิต.) เรือชะล่า โบราณเขียนฉะหล้า, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือ), เรือโกลน. วิ. ทวติ วหตีติ โทณี. ทุณฺ คติหึสาสุ, อ, อิตฺถิยํ อี.
  35. นขลิขิต : (นปุ.) การขีดด้วยเล็บ, การเขียน ด้วยเล็บ, การเขียนทำเหมือนรูปเล็บ, นขลิขิต. ไทยใช้ นขลิต เป็นชื่อของเครื่อง หมายรูปดังนี้ ( ) เรียกว่าวงเล็บเปิด วงเล็บปิด.
  36. นขเลขา : (อิต.) การขีดด้วยเล็บ, การเขียน ด้วยเล็บ, รอยเล็บ, การเขียนที่เล็บ, การทาเล็บ.
  37. นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
  38. นิรุตฺติปฏิสมฺภิทา : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.
  39. นิรุตฺติสภา : (อิต.) สภาแห่งบัณฑิตผู้แตกฉาน ในภาษา, สภาแห่งบัณฑิตผู้มีหน้าที่ เกี่ยวกับภาษา.
  40. นิลฺเลข : ค. ซึ่งไม่มีรอยขีดเขียนหรือริ้วรอย, ซึ่งปราศจากขอบหรือริม
  41. ปฐวีเลขา : อิต. รอยขีดเขียนบนพื้นดิน
  42. ปณฺณ, - ณก : นป. ใบไม้, ใบไม้สำหรับเขียนหนังสือ, จดหมาย, หนังสือ, ขน, ปีก
  43. ปมาทปาฐ : ป. ข้อความที่เขียนด้วยพลั้งเผลอ, ข้อความคลาดเคลื่อน
  44. ปาสาณเลข, - ขา : ป., อิต. รอยเขียนบนหิน, ศิลาจารึก, การเขียนบนแผ่นหิน
  45. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  46. พฺรหฺมลิขิต : (นปุ.) รอยเขียนของพระพรหม, พรหมลิขิต (เส้นชี้ชะตากรรมของคนซึ่งเป็นไปตามอำนาจของกรรม).
  47. พินฺทุกปฺป : (ปุ.) การทำพินทุ คือ การเขียนจุด ทำจุดที่มุมผ้าเหนืออนุวาตด้วยสีเขียวคราม หรือสีโคลน หรือสีดำคลำ เพื่อทำให้เสียสีตามพระวินัยบัญญัติ.
  48. มร : (ปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
  49. มรณ : (นปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
  50. มิจฉาทิฏฺฐ : (อิต.) ความเห็นผิด, ความเห็นที่ผิด, ลัทธิเป็นเครื่องเห็นผิด. มิจฺฉาทสฺสนํ มิจฺฉาทิฏฺฐ. แก้มิจฉาทิฏฐิ ได้โดย ๑.     ธัมมัสสวนะ ฟังธรรม ฟังบรรยายธรรม จากท่านผู้รู้ถูกต้อง เทศน์สอน อ่านหนังสือธรรม ที่ท่านผู้รู้ถูกต้องเขียน ๒. ธัมมานุสสรณะ หมั่นทบทวนคำสอน ๓.  ธัมมาสากัจฉา สนทนาธรรมกับท่านผู้รู้ถูกต้อง.
  51. [1-50] | 51-90

(0.0665 sec)