Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาษาเขียน, เขียน, ภาษา , then ขยน, เขียน, ภาษ, ภาษา, ภาษาเขียน, ภาสา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษาเขียน, more than 7 found, display 1-7
  1. sear : (VT) ; ทำให้เจ็บปวด (ภาษาเขียน) ; Related:ทำให้เจ็บแสบ
  2. frame up : (PHRV) ; เขียน
  3. language : (N) ; ภาษา ; Syn:speech, dialect
  4. lingo : (N) ; ภาษา ; Syn:dialect
  5. Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษาเขียน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษาเขียน, more than 7 found, display 1-7
  1. ภาษาเขียน : (N) ; written language ; Syn:ภาษาทางการ, ภาษาสุภาพ ; Def:ภาษาที่ใช้ในงานเขียนซึ่งเป็นทางการมากกว่าภาษาพูด ; Samp:เขาใช้ภาษาเขียนมากเกินกว่าเหตุไปหลายครั้งทำให้เรื่องไม่มีสีสันเท่าไหร่ ; Unit:ภาษา
  2. ภาษาหนังสือ : (N) ; written language ; Related:literary language ; Syn:ภาษาเขียน ; Ant:ภาษาพูด ; Samp:คำว่า อ้าย อี เป็นคำไม่สุภาพ ไม่ควรใช้ในภาษาหนังสือ ส่วนในภาษาพูดยังมีตกค้างใช้พูดกันบ้าง
  3. ภาษาพูด : (N) ; colloquialism ; Ant:ภาษาเขียน ; Def:ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน ; Samp:เนื่องจากเด็กยังไม่เข้าใจภาษาพูดได้ เขาจึงมีความรู้สึกไวเป็นพิเศษต่อกิริยาท่าทาง ; Unit:ภาษา
  4. เขียน : (V) ; write ; Related:trace ; Syn:จด, เขียนหนังสือ ; Def:ขีดให้เป็นตัวหนังสือหรือเลข, ขีดให้เป็นเส้นหรือรูปต่างๆ ; Samp:อย่าให้เขาเขียนเลย สงสารคนอ่าน
  5. ภาษา : (N) ; language ; Related:speech, words ; Syn:คำพูด ; Def:เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน ; Samp:ปัญหาชายแดนภาคใต้มีสาเหตุมาจากความไม่เข้าใจซึ่งกันและกันในเรื่องของภาษา ระหว่างไทยพุทธ และคนมุสลิม
  6. ภาษาจีน : (N) ; Chinese ; Def:ภาษาที่คนจีนใช้พูดจาติดต่อสื่อสารกัน, ภาษาประจำชาติหรือประเทศจีน ; Samp:ภาษาจีนมีทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน และภาษาที่เป็นสัญลักษณ์ ; Unit:ภาษา
  7. ภาษามนุษย์ : (N) ; human language ; Syn:ภาษา ; Def:เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, คำพูด, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน ; Samp:นักภาษาศาสตร์คือผู้ที่ศึกษาภาษามนุษย์โดยไม่จำกัดว่าเป็นภาษาอะไร
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษาเขียน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษาเขียน, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาษา : น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษา ราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยา อาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ; (โบ) คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและ แต่งตัวตามภาษา. (พงศ. ร. ๓); (คอม) กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษา จาวา; โดยปริยายหมายความว่าสาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา.
  2. เขียนไทย : น. วิชาเขียนภาษาไทยตามคําบอกของครู เพื่อฝึกเขียน ตัวสะกดการันต์ให้ถูกต้อง, เขียนตามคำบอก ก็ว่า.
  3. ภาษาคำควบมากพยางค์ : น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการประกอบ หน่วยคำหลาย ๆ หน่วยเข้าเป็นคำเดียวกัน ทำให้คำหนึ่ง ๆ มีความยาว หลายพยางค์ เช่น ภาษาเวลส์ ภาษาเอสกิโม ภาษาอินเดียนแดง. (อ. polysynthetic language).
  4. ภาษาคำโดด : น. ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยน แปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่อง กับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำ สองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม. (อ. isolating language).
  5. ภาษาคำติดต่อ : น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการเติมอุปสรรค อาคม หรือปัจจัย ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระและไม่มีความหมาย ผสานเข้ากับคำ บางคำซึ่งเป็นคำตั้ง ทำให้เกิดเป็นคำใหม่ แต่จะมีรูปและความหมายเกี่ยว เนื่องกับคำตั้งนั้น เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาตุรกี ภาษาฮังการี. (อ. agglutinative language).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษาเขียน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ภาษาเขียน, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาษา : เสียงหรือกิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจซึ่งกันและกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน, คำพูด
  2. ภาษามคธ : ภาษาที่ใช้พูดในแคว้นมคธ, ภาษาของชาวแคว้นมคธ หมายถึง ภาษาบาลี
  3. ทิฏฐิ : ความเห็น, ทฤษฎี; ความเห็นผิดมี ๒ คือ ๑.สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่าเที่ยง ๒.อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดสูญ; อีกหมวดหนึ่ง มี ๓ คือ ๑.อกิริยทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่เป็นอันทำ ๒.อเหตุกทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่มีเหตุ ๓.นัตถิกทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่มี คือถืออะไรเป็นหลักไม่ได้ เช่น มารดาบิดาไม่มีเป็นต้น; ในภาษาไทยมักหมายถึงการดื้อดึงในความเห็น (พจนานุกรมเขียน ทิฐิ)
  4. บริกรรม : 1.(ในคำว่า “ถ้าผ้ากฐินนั้นมีบริกรรมสำเร็จด้วยดี”) การตระเตรียม, การทำความเรียบร้อยเบื้องต้น เช่น ซัก ย้อม กะ ตัด เย็บ เสร็จแล้ว 2.สถานที่เขาลาดปูน ปูไม้ ขัดเงา หรือชักเงา โบกปูน ทาสี เขียนสี แต่งอย่างอื่น เรียกว่าที่ทำบริกรรม ห้ามภิกษุถ่มนำลาย หรือนั่งพิง 3.การนวดฟั้นประคบ หรือถูตัว 4.การกระทำขั้นต้นในการเจริญสมถกรรมฐาน คือ กำหนดใจโดยเพ่งวัตถุ หรือนึกถึงอารมณ์ที่กำหนดนั้น ว่าซ้ำๆ อยู่ในใจ อย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อทำใจให้สงบ 5.เลือนมาเป็นความหมายในภาษาไทย หมายถึงท่องบ่น, เสกเป่า
  5. ประหาน : ละ, กำจัด; การละ, การกำจัด; ตามหลักภาษาควรเขียน ปหาน หรือ ประหาณ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ภาษาเขียน, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษาเขียน, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  2. กาก : (ปุ.) กา. นกกา, อีกา (ภาษาพูด). คำ กา นกกา นี้เดิมเขียน กาก์ นกกาก์ ปัจจุบันเขียน กา ตามพจนาฯ วิ. กาติ (กา อิติ) สทฺทํ กโรตีติ กาโก. กาปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กฺวิ. กา สทฺเท วา, โก. กกฺ โลลิเย วา, โณ. ส. กาก.
  3. ปาลิ, ปาฬิ : อิต. แถว, แนว, สะพาน; ระเบียบ, แบบแผน; คัมภีร์ชั้นพุทธพจน์, ภาษาที่ใช้เขียนพระพุทธพจน์
  4. จิตฺเตติ : ก. วาด, เขียน, ทำให้วิจิตร, ทำให้เป็นสีต่างๆ
  5. นิรุตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องนำออก, ภาษา, คำพูด. ติปัจ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษาเขียน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ภาษาเขียน, 4 found, display 1-4
  1. รู้ภาษาบาลี : ปาลิภาสาชนนกา
  2. ผู้ฉลาดในภาษา : นิรุตฺติกุสโล
  3. อนุรักษ์ภาษาไทย : ทยฺยภาสารกฺข
  4. สันสฤต : สกฺกฏภาษา

(0.2906 sec)