Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาษาพูด .

Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษาพูด, 6 found, display 1-6
  1. intro : (N) ; คำนำ (ภาษาพูด) ; Related:คำขึ้นต้น
  2. kibitz : (VI) ; ยุ่งเรื่องคนอื่น (ภาษาพูด)
  3. kilter : (N) ; สภาพที่ทำงานได้ดี (ภาษาพูด) ; Syn:fettle, order, state
  4. un : (PRON) ; คำสรรพนามใช้แทนคำนาม (ภาษาพูด) ; Syn:one
  5. vernacular : (N) ; ภาษาที่ใช้ประจำวัน ; Related:ภาษาธรรมดา, ภาษาพูด ; Syn:dialect, idiom, patois, phraseology, slang

Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษาพูด, 3 found, display 1-3
  1. ภาษาพูด : (N) ; colloquialism ; Ant:ภาษาเขียน ; Def:ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน ; Samp:เนื่องจากเด็กยังไม่เข้าใจภาษาพูดได้ เขาจึงมีความรู้สึกไวเป็นพิเศษต่อกิริยาท่าทาง ; Unit:ภาษา
  2. ภาษาปาก : (N) ; colloquialism ; Related:colloquial expression, spoken language ; Syn:ภาษาพูด ; Def:ภาษาหรือระเบียบคำที่พูดกันธรรมดาโดยไม่ได้เคร่งครัดกับไวยากรณ์อย่างภาษาหนังสือ ; Samp:ภาษาที่เราใช้พูดในชีวิตประจำวันเป็นภาษาปากที่ไม่ต้องพิถีพิถันเลือกใช้คำมากนัก ; Unit:ภาษา
  3. ภาษาหนังสือ : (N) ; written language ; Related:literary language ; Syn:ภาษาเขียน ; Ant:ภาษาพูด ; Samp:คำว่า อ้าย อี เป็นคำไม่สุภาพ ไม่ควรใช้ในภาษาหนังสือ ส่วนในภาษาพูดยังมีตกค้างใช้พูดกันบ้าง

Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษาพูด, 1 found, display 1-1
  1. ภาษา : น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษา ราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยา อาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ; (โบ) คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและ แต่งตัวตามภาษา. (พงศ. ร. ๓); (คอม) กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษา จาวา; โดยปริยายหมายความว่าสาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา.

Budhism Thai-Thai Dict : ภาษาพูด, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษาพูด, 2 found, display 1-2
  1. กาก : (ปุ.) กา. นกกา, อีกา (ภาษาพูด). คำ กา นกกา นี้เดิมเขียน กาก์ นกกาก์ ปัจจุบันเขียน กา ตามพจนาฯ วิ. กาติ (กา อิติ) สทฺทํ กโรตีติ กาโก. กาปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กฺวิ. กา สทฺเท วา, โก. กกฺ โลลิเย วา, โณ. ส. กาก.
  2. คณาจริย : (ปุ.) อาจารย์ของหมู่, คณาจารย์ (อาจารย์ของมหาชน). ภาษาพูด เรียก พระที่มีวิชาอาคมขลังว่าพระคณาจารย์ ซึ่งมีความหมายไม่ตรงกับศัพท์นี้.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ภาษาพูด, not found

(0.0706 sec)