Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยกย่องนับถือ, ยกย่อง, นับถือ , then นับถือ, ยกยอง, ยกย่อง, ยกยองนบถอ, ยกย่องนับถือ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยกย่องนับถือ, 120 found, display 1-50
  1. ครุกโรติ : ก. เคารพ, นับถือ, ยกย่อง
  2. ปฏิปูเชติ : ก. บูชาตอบ, เคารพนับถือ, ยกย่อง
  3. สมฺภาเวติ : ก. นับถือ, ยกย่อง
  4. ครุกาตพฺพ : ค. ซึ่งควรแก่การยกย่อง, ซึ่งควรแก่การเคารพนับถือ
  5. ครุฏฐานิย : ค. ผู้ตั้งอยู่ในตำแหน่งครู, ผู้ควรแก่การเคารพนับถือและยกย่อง
  6. จิตฺติการ, - ตีการ : ป. การทำความยำเกรง, การเคารพนับถือ, การยกย่อง, การให้เกียรติ
  7. ปฏิปูชน : นป., - ชนา อิต. การบูชาตอบ, ความเคารพนับถือ, การยกย่อง
  8. ปูชนา ปูชา : (อิต.) การยกย่อง, การนับถือ, การต้อนรับ, การบูชา, ความยกย่อง, ฯลฯ. คำ บูชา ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่าให้ด้วยความนับถือ.
  9. ยส : (ปุ.) ชื่อเสียง, ความยิ่ง, ความเด่น, ความยกย่อง, ความยกย่องนับถือ, เกียรติ, ยศ. วิ. ยชติ เอเตนาติ ยโส. ยชฺ เทวปูชายํ, อ, ชสฺสโส. สพฺพตฺถ ยาตีติ วา ยโส. ยา คมเน, โส, รสฺโส.
  10. สมฺมาน : (ปุ.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
  11. สมฺมานน : (นปุ.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
  12. สมฺมานนา : (อิต.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
  13. อสมฺมานิต : ค. ไม่ได้รับการยกย่องนับถือ
  14. กตฺถติ : ก. อวดคุย, สรรเสริญ, ยกย่อง
  15. ถวน : (วิ.) ชม, ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ.
  16. ปคฺคณฺหาติ : ก. ประคับประคอง, ยกย่อง
  17. ปยิรุปาสติ : ก. เข้าไปนั่งใกล้, เข้าไปคอยรับใช้, คบหา, เคารพ, ยกย่อง; เยี่ยมเยียน
  18. ปวีนติ : ก. เคารพ, บูชา, ยกย่อง, ให้เกียรติ
  19. ปสสติ : ก. สรรเสริญ, ยกย่อง, ชมเชย
  20. สิลาฆ : (วิ.) ชม, ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ, อวด.
  21. อภิตฺถวติ : ก. ชมเชย, สรรเสริญ, ยกย่อง
  22. อภิโถเมติ : ก. ชมเชย, ยกย่อง, สดุดี
  23. อภินว : (วิ.) ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ, ใหม่.นุถุติยํ, อ, นโว.นโว.เอวอภินโว. อภิมโตปสตฺโถวานโวอภินโว.
  24. อุสฺสาเทติ : ก. ปล่อยไป; ยกขึ้น, ตั้งขึ้น; ไล่ไป, ต้อนไป; ยินดี, ยกย่อง, ยินยอม
  25. อจฺเจติ : ก. ๑ ล่วงไป, ผ่านไป, เคารพ ๒. บูชา, นับถือ
  26. อปจายติ : ก. เคารพ, ยำเกรง, นับถือ
  27. อปจายิต : กิต. เคารพ, บูชา, นับถือ
  28. อภิสทฺทหติ : ก. เชื่อมั่น, เชื่อถือ, เลื่อมใส, นับถือ
  29. นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
  30. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  31. อรห : (วิ.) ควร, สมควร, บูชา, เคราพ, นับถือ.อรหฺปูชายํ, อ.ส.อรฺห.
  32. กิตฺเตติ : ก. ยกย่อง, สรรเสริญ, ประกาศคุณ; บอก, แสดง
  33. ถวติ : ก. ยกย่อง, ชมเชย, สรรเสริญ, สดุดี
  34. โถเมติ : ก. ยกย่อง, ชมเชย, สรรเสริญ, สดุดี
  35. สมุกฺกเสติ : ก. ยกย่อง, สรรเสริญ
  36. สิลาฆติ : ก. ยกย่อง, ชมเชย
  37. อกฺกยติ : ก. ยกย่อง, ชมเชย
  38. อนุตฺถุนาติ : ก. ๑. ยกย่อง, สรรเสริญ ; ๒. ทอดถอนใจถึง, คร่ำครวญถึง
  39. กิตฺติวณฺณ : ป., นป. การพรรณนาคุณงามความดี, การยกย่อง
  40. ครุการ : ป. การเคารพ, การยกย่อง
  41. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  42. คุณกถา : อิต. การกล่าวถึงคุณ, การกล่าวยกย่อง, การสรรเสริญ, การพรรณนาคุณความดี
  43. จิตฺติกโรติ, - ตีกโรติ : ก. กระทำความยำเกรง, เคารพยกย่อง, บูชา
  44. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  45. เชฏฺฐปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เจริญที่สุด, บุรุษผู้ เป็นพี่ใหญ่, เชฏฐบุรุษ ชายที่ได้รับยกย่อง ว่าเป็นพี่ใหญ่ด้วยได้ทำความดีให้แก่ ประเทศมาก.
  46. ฐกฺกุร : (วิ.) ควรเคารพ, น่าเคารพ. ส. ฐกฺกุร ว่าเทพเจ้าที่นับถือ.
  47. ฐาปน : (นปุ.) การแต่งตั้ง, สถาปนา ( การยกย่องโดยแต่งตั้งให้สูงขึ้นเลื่อนให้สูง ขึ้น ). ส. สฺถาปน.
  48. ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
  49. ถว : ป. การยกย่อง, การชมเชย, การสรรเสริญ, การสดุดี
  50. ถุต : กิต. (อันเขา) ยกย่องชมเชยแล้ว, สรรเสริญแล้ว, สดุดีแล้ว
  51. [1-50] | 51-100 | 101-120

(0.0556 sec)