ขณฺเฑติ : ก. ทำให้แตก, ทำลาย, ละเมิด, สละ, เลิก
อชฺฌาจรติ : ก. ประพฤติผิด, ละเมิด
อติกฺกมติ : ก. ก้าวล่วง, ละเมิด
อติจรติ : ก. จาริกไป, เที่ยวไป, ละเมิด, ล่วง
อปกโรติ : ก. ทำร้าย, ทำผิด, ละเมิด, ขว้างทิ้ง
อปราเธติ : ก. ฝ่าฝืน, ละเมิด
อพฺภตีต : ค., กิต. ล่วงไป, ก้าวล่วง, ละเมิด, ทอดทิ้ง
อุลฺลงฺเฆติ : ก. กระโดดขึ้น; บุกรุก, ละเมิด
โกเปติ : ก. ทำให้เกิดโกรธ, ละเมิด (กฎ)
สิทฺธิ : (อิต.) คำสั่ง, คำสั่งสอน. สิธุ สาสเน. ความเจริญ, มงคล. สิธุ มงฺคเ ลฺย. การบรรลุ, การบรรลุผล, การสมความปรารถนา, ความสมปรารถนา, ความสำเร็จ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุเป็น ทฺ. ไทย สิทธิ หมายถึง อำนาจอันชอบธรรมที่จะทำอะไรได้ตามกฎหมาย. ส. สิทฺธิ.
อติกฺกมณก : ค. ละเมิด
ครุธมฺม : (ปุ.) ธรรมที่ควรเคารพ, ครุธรรม ธรรมหรือสิกขาบท ที่ล่วงละเมิดมิได้.
ทิฏฺฐิ : อิต. ทิฐิ, ความเห็น, ทฤษฎี, ความเชื่อถือ, หลักสิทธิ; ความเห็นผิด
นิติปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลโดยกฎหมาย, บุคคล ตามกฎหมาย, นิติบุคคล. ไทย นิติบุคคล หมายถึงองค์การหรือคณะบุคคล ซึ่ง กฎหมายสมมุติให้เป็นบุคคลมีสิทธิและ หน้าที่ที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย.
ปาราชิก : ๑. ป. อาบัติที่ทำให้ผู้ต้องขาดจากความเป็นภิกษุ;
๒. ค. ผู้แพ้, ผู้ล่วงละเมิดสิกขาบทสำคัญของภิกษุ
ปุริมสิทฺธิ : (อิต.) สิทธิ์อันมีในก่อน, บุริสิทธิ์ คือ อำนาจอันชอบธรรมที่เรียกได้ก่อนสิทธิธรรมดา.
สมาชิก : (ปุ.) บุคคลผู้เข้าประชุม, บุคคลผู้มาประชุมรวมกัน, บุคคลผู้มาประชุมร่วมกัน, สมาชิก(ผู้มีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในสมาคมหรือกิจการใด ๆ).
สหกรณ : (นปุ.) การทำรวมกัน, การทำร่วมกัน, การร่วมมือกันทำ, สหกรณ์ คือการงานที่ร่วมกันทำ เป็นวิธีอย่างหนึ่งที่บุคคลหลายคนเข้าหุ้นกัน ร่วมมือกันเพื่อความเจริญในทางเศรษฐกิจ แล้วแบ่งผลประโยชน์แก่สมาชิกตามสิทธิเสมอกัน.
เสรี : (ปุ.) บุคคลผู้มีอิสระ (ทำหรือพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น). วิ. อตฺตนา อีริตํ สีล มสฺสาติ เสรี.
อคมนียวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่พึงถึง, วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่ควรล่วงวัตถุไม่ควรถึง, วัตถุต้องห้าม, อคมนียวัตถุ ได้แก่หญิงหรือชายที่กฎหมายหรือศีลธรรมระบุไว้มิให้ชายหรือหญิงผู้รักษาศีลธรรมล่วงละเมิดทางประเวณี.
อจฺจนฺต : (วิ.) จริงๆ, โดยแท้, โดยส่วนเดียว, ล่วงส่วน, ยิ่ง, ยิ่งนัก, เนื่องกัน, ถาวร, มั่นคง, สุดท้าย, มากมาย, ล่วงละเมิด.
อจฺจย : (ปุ.) การล่วงไป, การก้าวล่วง, การเป็นไปล่วง, การล่วงละเมิด, การดูหมิ่น, ความล่วงไป, ฯลฯ, ความผิด, โทษอันเป็นไปล่วง, โทษอันล่วงเกิน, กาลเป็นที่เป็นไปล่วง, ความล่วงลับไป, ความตาย, วิ. อติกฺกมิตฺวา อยนํ อจฺจโย.อติปุพฺโพ, อิ คติยํ, โณ. ส. อตฺยยฺ.
อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
อติกฺกม : (ปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด, ความก้าวล่วง, ความล่วงละเมิด.
อติกฺกมน : (นปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด, ความก้าวล่วง, ความล่วงละเมิด.
อติกฺกมิตฺวา : กิต. ก้าวล่วงแล้ว, ละเมิดแล้ว
อติกนฺต : กิต. ละเมิดแล้ว, ก้าวล่วงแล้ว
อติกนฺติกา : อิต. การก้าวล่วง, การละเมิด
อติจรณ : นป. การก้าวล่วง, การละเมิด
อติจาร : ป. การล่วงละเมิด, การประพฤติผิด
อติจารินี : อิต. หญิงที่ล่วงละเมิด, หญิงที่ประพฤตินอกใจ
อติปาต : (ปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด, การยังสิ่งมีชีวิตให้ตกล่วงไป, การยังชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป, การฆ่า, การฆ่าสัตว์.
อปราธ : (ปุ.) การละเมิด, ความละเมิด, อาชญากรรม.อปปุพฺโพ, รธฺหึสายํ, โณ. อภิฯตั้งราธฺสิทฺธิยํ, อ.วิ.อปคโตราโธเยนโสอปราโธ.ส. อปราธ.
อาจาร : (ปุ.) มรรยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ, ความประพฤติ, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติไม่ล่วงละเมิดทางกายและทางวาจา, สีลสังวร, มารยาท, มรรยาท, มรรยาทอันดี, จรรยา, ขนบ, ธรรมเนียม, ระเบียบ, แบบแผน.ไตร.๓๕/๖๐๔.ส. อาจาร.
อาปชฺชติ : ก. พบ, ประสบ, บรรลุ, ถึง; ต้องโทษ, ล่วงละเมิด
อาปตฺติ : (อิต.) โทษชาติที่ภิกษุต้อง, โทษชาติที่ภิกษุล่วงละเมิด, โทษที่เกิดเพราะความละเมิดพระวินัย, ความถึง, ความต้อง, อาบัติคือโทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม (จากนวโกวาท)กิริยาที่ล่วงละเมิดพระบัญญัติและมีโทษเหนือตนอยู่ (วินัยมุขหน้า๑๑) การฝ่าฝืนหรือล่วงละเมิดข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามและไม่ทำตามข้อที่ทรงอนุญาต(เฉลย สนามหลวง).ส.อาปตฺติ.
อุปจฺจย : (ปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด. อุป อติ ปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. แปลง อติ เป็น จฺจ.
อุลฺลงฺฆน : นป. การกระโดดขึ้น; การบุกรุก, การละเมิด
สิทฺธ : (วิ.) เสร็จ, สำเร็จ, สัมฤทธิ์, ให้ผลเป็นนิตย์, สิทฺธ สํสิทฺธิยํ, อ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ วา, โต. แปลง ต เป็น ธ แปลงที่สุดธาตุเป็น ทฺ รูปฯ ๕๙๘.
สุทฺธ : (วิ.) ไม่เจือปน, หมดจด, แจ่มใส, ผ่องแผ้ว, สะอาด, บริสุทธิ์, ล้วน, ล้วน ๆ, แท้, สิ้นเชิง, ผุดผ่อง. สุทธฺ โสเจยฺเย, โต, ทฺวิตฺตํ, ธโลโป.
สทฺธ : ค. มีศรัทธา, มีความเชื่อ
สทฺธึ : อ. กับ
สุทฺธิ : (อิต.) สุทธิ ชื่อของพระนิพพาน ชื่อ ๑, พระนิพพาน.
มคธ : (ปุ.) มคธ ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ ปัจจุบันเรียกว่า พิหาร วิ. มเคน สทฺธึ ธาวนฺตีติ มคธา. มคปุพฺโพ, ธาวฺ คติสุทฺธิยํ, อ. ลบที่สุดธาตุ. มํเสสุ คิชฺฌนฺตีติ มคธา. มํสปุพฺโพ, คิธฺ อภิกํขายํ, อ. ลบ อํส และ ธฺ.
สิทฺธนฺต : (ปุ.) ความเห็น, ลัทธิ. วิ. ฐโต ปกฺโข สิทฺธนฺโต. สิทฺโธ อนฺโต อเนนาติ สิทฺธนฺโต.
สุโคจร : (วิ.) มีพระนิพพานเป็นอารมณ์. สุทฺธิ + โคจร. ลบ ทฺธิ.
สุทฺธาวาส : (ปุ.) สวรรค์ชั้นสุทธาวาส ชื่อพรหมโลกชั้น ๑ ใน ๑๖ ชั้น เป็นที่อยู่ของพระอนาคามี. วิ. สุทฺโธ อาวาโส เอเตสนฺติ สุทฺธาวาโส.
โสจ : (นปุ.) การอบ, การชำระ, ความสะอาด. สุจฺ โสจเน (สุทฺเธ), โณ.