ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
ปฏิพิมฺพ : นป. รูปเปรียบ, รูปเหมือน, ภาพ, เงา
อาตปาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งแดด, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณเงาที่ไม่มีแดด).อาตป+อภาว.
กณฺหอญฺชน : นป. การขัดจนเป็นมัน, การขัดให้เป็นเงา
กาฬเกส : ค. ผู้มีผมดำ, ผู้มีผมเป็นเงางาม
จนฺทคาห จนฺทคฺคาห : (ปุ.) การจับซึ่งดวง จันทร์, การยึดดวงจันทร์, จันทคาธ, จันทรคาธ, จันทคราส, จันทรคราส (ราหู จับจันทร์ ราหูอมจันทร์ วิทยาศาสตร์ว่า ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ ในแนวเดียวกัน โลกอยู่ระหว่างกลางทำ ให้เงาของโลกไปบังดวงจันทร์).
ฉาทิ : อิต. เงา, ร่ม, ร่มเงา
ฉายาภมฺภ : (ปุ.) หลักวัดเงาแดด, นาฬิกาแดด.
ฉายามาน : นป. การนับหรือการวัดเงา, การนับเวลา
ทุวงฺคุลกปฺป : ป. การถือว่าสองนิ้วควรได้แก่การกำหนดเวลาอาหารยืดออกไปจนถึงตะวันบ่ายเงายาวสองนิ้ว
ปจฺฉายา : อิต. ร่มเงา, ที่ร่ม
ปฏิพิมฺพิต : ค. ซึ่งมีเงาสะท้อน
มชฺฌนฺติก : (วิ.) มีเงาตั้งอยู่ในท่ามกลางแห่งวัน, มีในท่ามกลางแห่งวัน.
มชฺฌนฺติกสมย : (ปุ.) สมัยแห่งพระอาทิตย์มีเงาตั้งอยู่ในท่ามกลางแห่งวัน, เวลาเที่ยงวัน, เที่ยงวัน.
สนฺทจฺฉาย : (วิ.) มีเงาชิด, มีเงาไม่ขาด, ฯลฯ.
ทนฺต : (ปุ.) ฟัน, งา, งาช้าง. วิ. ทายติ ภกฺข มเนนาติ ทนฺโต. ทา อวทารเณ, อนฺโต, รสฺโส. ส. ทนฺต,
ทาฒา : (อิต.) เขี้ยว, งา , งาช้าง. ทํส ธาตุ ฒ ปัจ. ส. ทาฒา.
สิงฺค : (นปุ.) เขา (อวัยวะที่ตั้งอยู่ที่ศรีษะ), เขาสัตว์, นอ (สิ่งที่งอกอยู่เหนือจมูกแรด), งา, งาช้าง. วิ. สยติ ปวตฺตติ มตฺถเกติ สิงฺคํ. สิ สเย, โค, นิคฺคหิตาคฺโม, สิ เสวายํ วา.
ติล : (ปุ.) กกงา, กองา, ต้นงา, พืชงา. ติลฺ สิเนหเน, อ.
ติลกกฺก : ป. น้ำมันงา
ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตวตฺถจฺฉาทนาทิปุณฺณ : (วิ.) อันเต็มแล้วด้วยวัตถุ มีงาและข้าว สารและเนยใสและน้ำอ้อยและวัตถุเป็น เครื่องปกปิด มีผ้าเป็นต้น.
ติล ติลก : (นปุ.) เมล็ดงา.
ติลปิญฺญาก : ป. ขนมงา, ขนมทำด้วยเมล็ดหรือน้ำมันงา
ติลปิฏฺฐ : นป. แป้งงา, ขนมงา
ติลปูว : (ปุ.) ขนมคลุกงา.
ติลมุฏฺฐิ : ป. เมล็ดงากำมือหนึ่ง
ติลราสิ : ป. กองแห่งเมล็ดงา, เมล็ดงากองหนึ่ง
ติลวาห : (ปุ.) เกวียนอันเต็มแล้วด้วยงา, เกวียนบรรทุกงา.
ติโลทน : ป. ข้าวผสมเมล็ดงา, ข้าวปนเมล็ดงา
เตกฏุล : ค. (ยาคุ) ทำด้วยงา, ข้าวสาร, ถั่ว, รวม ๓ อย่าง
เตล : (นปุ.) น้ำมัน, ( ที่ได้จากพืชและเนื้อสัตว์ ไขสัตว์) , น้ำมันงา ( ได้จากงา ). ติลฺ สิเนหเณ, โณ. แปลว่า สำลี นุ่น ฝ้าย ก็มี. ส. ไตล.
เตลสงฺคุฬิกวาท : (ปุ.) วาทะว่า ขนมระคน ด้วยงา, วาทะว่าขนมแตกงา ( ขนมทำด้วย แป้งคลุกด้วยงา).
เตลิก : (วิ.) ระคนด้วยงา วิ. ติเลน สํสฏฺฐํ เตลิกํ. มีน้ำมันเป็นสินค้า. วิ. เตลํ อสฺส ภณฺฑนฺ เตลิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
ทนฺตการ : ป. ช่างงา, ช่างแกะสลักงา
ทนฺตวิกติ : อิต. เครื่องงาต่างชนิด, สีต่างๆ ที่ทำด้วยงา
ทนฺตี : (ปุ.) สัตว์มีเขี้ยว, สัตว์มีงา, ช้าง, ช้าง พลาย. ทนฺต+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. ทนฺตินฺ.
ทาฐาวุธ : ค. ผู้มีงาเป็นอาวุธ, ผู้ใช้งาเป็นอาวุธ
ทาฐี : ค. มีงา
ทิเรท : (ปุ.) สัตว์มีงาสอง, ช้าง, ช้างพลาย. ทฺวิ+รท แปลง ทฺวิ เป็น ทิ.
นาคทนฺต : (ปุ.) งาแห่งช้าง,งาช้าง.ส.นาค.ทนฺต.
ปากเตล : นป. น้ำมันงาที่เคี่ยวให้เดือดแล้วสำหรับใช้ทาตัว
สุทนฺต : ค. มีฟันงาม, มีงางาม ; ฝึกดีแล้ว
อปรณฺณ : (นปุ.) อปรัณชาตได้แก่อาหารอื่นจากข้าว มีถั่วงาเป็นต้นที่จะพึงกินภายหลังกินข้าวแล้ว.วิ.ปุพฺพณฺณาทิโตอปรภาเคปวตฺตมณฺณํอปรณฺณํ.
อวมงฺคล : (นปุ.) อวมงคล (ไม่เป็นความเจริญ).เรียกงานทำบุญเกี่ยวกับการตายว่างานอว-มงคล.คือ งานที่ปรารภเหตุที่ทำให้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ.
อีสาทนฺต : ค. มีงายาวเหมือนงอนไถ (ช้าง)