กตก : (วิ.) อันคนทำ, ที่คนทำ. กต+ก ปัจฯ รูปฯ ๓๖๙. แกล้งทำ, เทียม, ปลอม. อภิฯ
ปฏิรูป : ค. ๑. เหมาะ, ควร, สมควร, เหมาะสม;
๒. (ใช้เป็นบทหลังในรูปสมาส เช่น มิตฺตปฏิรูป เป็นต้น) มีรูปเหมือน, คล้ายคลึง, เทียม, ปลอมแปลง
ปยุญฺชติ : ก. ประกอบ, เทียม, ใช้, ประยุกต์, นำไปใช้
กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
นินฺนหุต : (นปุ.) นินนหุต ชื่อมาตรานับ เท่า กับเลข ๑ มีสูญตามหลัง ๓๕ สูญ. นหุตลกฺขสตํ นินฺนหุตํ. ปญฺจตึสติพินฺทุส- หิตา เอกา เลขา.
ทฺวิตา : (อิต.) ความที่แห่ง....นั้นเป็นของสอง เท่า, ความเป็นของสองเท่า. ทฺวิ+ตา ปัจ. ภาวตัท.
กปฺป : (วิ.) หย่อนหน่อยหนึ่ง, เกือบเท่า, รอบด้าน, ควร, สมควร, คล้าย, เช่น, เหมือน. กปฺปฺ ปริจฺเฉทเน, อ.
กหาปณก : นป. ชื่อของการทรมานชนิดหนึ่งซึ่งเฉือนเนื้อออกเป็นชิ้นๆ เท่าเหรียญกหาปณะ
กิมฺปกฺก, กิมฺผล : นป. ผลไม้มีพิษชนิดหนึ่งลูกเท่าผลมะม่วง
โกลมตฺตี : ค. มีขนาดเท่าผลกระเบา, มีขนาดเท่าผลพุทรา
จตุรสฺส : (วิ.) มีมุมสี่ ( สี่มุม ) วิ. จตฺตาโร อํสา ยสฺสา สา จตุรสฺสา ลบนิคคหิต รฺ อาคม แปลง ส เป็น สฺส ฎีกาเวสฯ ๕๓๑ ไทย ใช้จตุรัส จัตุรัส ในความหมายว่าสี่เหลี่ยม ด้านเท่า.
จิตฺตานุปสฺสนา :
(อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
ตุล : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, เท่ากัน, คล้าย, เช่นกัน. ตุลฺ อุมฺมาเณ ตีรณายํ วา, อ.
ตุลภาค ตุลฺยภาค : (ปุ.) ส่วนเสมอกัน, ส่วน ที่เสมอกัน, ส่วนที่เท่ากัน, ภาคที่เสมอกัน, ฯลฯ.
ตุลฺย : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, เท่ากัน, เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, วิ. ตุลาย สมฺมิโต ตุโลฺย. ตุลาย ตุลนาย สมฺมิโต สมํ มิเณตพฺโพ ตุโลฺย. อภิฯ.
ตุลิย : (ปุ.) นกเค้าแมว ชื่อนกที่หากินกลาง คืนมีหน้าคล้ายแมว, บ่าง ชื่อสัตว์สี่เท้า ชนิดหนึ่ง ตัวคล้ายกระรอก โตเกือบเท่า ค่าง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อิโย. เป็น ตุลฺลิย บ้าง.
ทฺวิคุณ : (วิ.) มีขั้นสอง, มีสองชั้น, สองหน, สองเท่า.
ทฺวิตา, (ทฺวิตฺตา) : อิต. ความเป็นสองเท่า
ทิวงฺคต : (วิ.) ไปแล้วสู่สวรรค์, ไปสู่สวรรค์, ไปสวรรค์, ไทยใช้ทับศัพท์ว่า ทิวงคต ใช้เป็นกริยาสำหรับพระยุพราชหรือเทียบเท่าเมื่อสิ้นชีวิต.
ธมฺมปฏิรูป : (ปุ.) ธรรมเทียม ธรรมไม่แท้ ซึ่งแฝงเข้ามาปนกับธรรมแท้ เป็นผลของการกระทำของผู้ไม่หวังดีแก่พระ ศาสนา หรือของคนผู้หวังแต่ประโยชน์ ของตนหรือพรรคพวกของตน.
ธุรโธรยฺห : ป. สัตว์ผู้นำสัมภาระไป, วัวเทียมเอก
นาควีฏ : (ปุ.) คราด ชื่อเครื่องมือ ทำเป็นซี่ๆ มีด้ามสำหรับถือ สำหรับชักหรือลาก ขี้หญ้าหรือหยากเยื่อ คราดขนาดใหญ่ เทียมวัวหรือควาย ๑ คู่ สำหรับทำไร่ ทำนา.
ปฏิจฺฉาย : อิต. รูปภาพ, รูปเทียม
ปฏินิธิ : ป. รูปเปรียบ, รูปเทียม
ปฏิภาค : ค., ป. มีส่วนเปรียบได้, ซึ่งเปรียบเทียบกันได้, ซึ่งคล้ายคลึง, เท่ากัน; คนทัดเทียม, ศัตรู, ความเหมือนกัน; ความคล้ายคลึงกัน; คำตอบ
ปมาณก : ค. ซึ่งมี...เป็นประมาณ, ซึ่งมีขนาดเท่า, ซึ่งวัดได้เท่า
ปมาณิก : ค., ป. ซึ่งถือเอกเป็นประมาณ, ซึ่งวัดด้วย, ซึ่งมีประมาณเท่า, ซึ่งขนาดเท่า; ผู้ถือประมาณ, ผู้วัด, ผู้ตัดสิน
ปยุตฺต : กิต. (อันเขา) ประกอบแล้ว, เทียมแล้ว, นำไปใช้แล้ว, ประยุกต์แล้ว, ตั้งใจแล้ว, ขวนขวายแล้ว, แต่งขึ้นแล้ว, ลงมือทำแล้ว, วางแผนแล้ว
ปาฏิรูปิก : ค. ซึ่งปลอมแปลง, ซึ่งเทียม, ซึ่งไม่แท้, ซึ่งหลอกลวง
ผุสฺสรถ : ป. รถที่เทียมด้วยม้าขาวของพระเจ้าจักรพรรดิ ซึ่งถูกปล่อยไปเพื่อแสดงแสนยานุภาพ, รถประจำแคว้น
ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
ภูต : (วิ.) ล่วงไปแล้ว, มีอยู่, เป็นอยู่, เสมอกัน, เท่ากัน, จริง, แท้.
มิตฺตปฏิรูปก : (ปุ.) คนเทียมมิตร.
ยถาปูริต : ค. เท่าที่จะเต็มได้
ยถาภิรนฺต : ค. นานเท่าที่ต้องการ, เท่าที่ประสงค์จะอยู่
ยาว : (อัพ. นิบาต) เพียงใด, เพียงไร, ตราบใด, ตราบเท่า, กระทั่ง, ประมาณ, กำหนด, ตลอด.
ยาวตายุก : ก. วิ. ตราบเท่าอายุ
สภาค : (วิ.) เป็นไปกับด้วยส่วน. วิ. สห ภาเคน วตฺตตีติ สภาโค. ร่วมกัน, เท่ากัน, เข้ากันได้, อยู่พวกเดียวกัน, เหมือนกัน, มีส่วนเสมอ, มีส่วนเสมอกัน. วิ. สมาโน ภาโค เยสํ เต สภาคา.
สมตุล : (นปุ.) ความเสมอกัน, ความเท่ากัน, ความพอดีกัน, ความสมส่วนกัน, สมดุล. สม+ตูล.
สมาน : (วิ.) คล้าย, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, อันหนึ่งอันเดียวกัน, เป็นอันเดียวกัน, เสมอกัน, เท่ากัน. สมฺ เวลมฺเพ, ยุ. ส. สมาน.
สามฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งของคล้ายกัน, ความเป็นแห่งของเสมอกัน, ความเป็นแห่งของเท่ากัน, ความเป็นแห่งของควร. สม+ณิย ภาวตัท. ความเสมอกัน, ความเท่ากัน,, ความควร. ณฺย ปัจ. สกัด.
หลาหล : (วิ.) กล้าและกล้า, แข็งเท่าแข็., ร้ายเท่าร้าย, ร้ายกาจ. หนฺ หึสายํ, อ, นสฺส โล. หล+หล ทีฆะในท่ามกลาง.
อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
อตุลอตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มีความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
อตุล อตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มี ความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
อพฺภามตฺต : ค. น่ากลัว, ใหญ่โต, (มีขนาดเท่าก้อนเมฆ)