อภิโรปิต : กิต. ปลูก, เพาะ, ชำแล้ว; ทำใจให้ตั้งมั่นแล้ว
อาโรเปติ : ก. ปลูก, เพาะ, ยกขึ้น ; ฟ้องร้อง, กล่าวหา; สั่งสอน
กสิ : (อิต.) การไถ, การทำนา, การเพาะปลูก. วิ. กสนํ กสิ. เครื่องไถ. ลง อี ปัจ. เป็น กสี บ้าง.
กสิกมฺม : (นปุ.) กรรมคือการไถ, การไถ, การทำนา, การเพาะปลูก. วิ. กสิ เอว กมฺมํ กสิกมฺมํ.
กสิกร กสิการ กสิการก : (ปุ.) คนผู้ทำการไถ, คนผู้ทำการเพาะปลูก, ชาวนา, ชาวไร่.
กสิภณฺฑ : (นปุ.) อุปกรณ์ทำนา, อุปกรณ์การเพาะปลูก.
กสิ, - สี : อิต. การเพาะปลูก, การไถ, การหว่าน
กสี : อิต. การเพาะปลูก, การไถนา
สาลิ : (ปุ.) ข้าวไม่มีแกลบ, ข้าวสาลี (ข้าวที่เพาะปลูกกันในประเทศหนาว). สาลฺ สิลาฆายํ, อิ. อถวา, เส เขตฺเต ลียติ อลฺลึยตีติ สาลิ, สปุพฺโพ, ลิ สิเลสเน, อิ. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
อุพฺพรี : อิต. ที่มีพืชอุดมสมบูรณ์, ที่เพาะปลูก; ภรรยา, เมีย
โอโรปน : (นปุ.) การปลงลง, การปลง, การนำลง, การโกน, การตัด, การเพาะ, การหว่าน, การปลูก, การปักไว้, การตั้งไว้. โอปุพฺโพ, รุป โอโรปนาทีสุ, ยุ.
กสิมา : ป. ชายผู้เป็นสามี, ผู้ปลูกฝัง, ผู้ให้กำเนิด
กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
ขิล, ขิฬ : นป. ความด้าน, ความกระด้าง; ที่ซึ่งปลูกอะไรไม่ขึ้น
คหการ คหการก : (ปุ.) นายช่างผู้ทำเรือน, ช่าง ปลูกบ้าน.
ชนาลย : (ปุ.) ปะรำ ชื่อของสิ่งปลูกสร้างทำ ขึ้นชั่วคราว มีเสาหลังคาแบน ดาดด้วยผ้า หรือสิ่งอื่นๆ, มณฑป ชื่อของเรือนยอดรูป สี่เหลี่ยม วิ. ชนาน มาลโย สนฺนิปาตฏฺฐานํ ชนาลโย.
ธญฺญสมวาปก : นป. ข้าวปลูก
พีชพีช : นป. พืชที่เกิดจากการเพาะเมล็ด
มาฬ : (ปุ.) เรือนยอดเดียว, โรง คือสิ่งที่ปลูกไว้สำหรับอยู่ หรือไว้ของ ไม่มีพื้นไม้. มา มาเน, โฬ.
โรป, - ปก : ค. ผู้ปลูก, ผู้หว่าน
โรเปติ : ก. ปลูก, หว่าน
วฑฺฒิ : ก. เจริญ, เลี้ยงดู, ปลูกฝัง
สสฺสพีช : (นปุ.) ข้าวปลูก คือข้าวเปลือกที่ชาวนาเก็บไว้สำหรับทำพันธุ์.
สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
อภินิโรเปติ : ก. ปลูกฝัง, ตั้งไว้
อโรปิต : ค. ไม่ปลูก, ไม่ตั้งไว้
อสฺสุโรป : (ปุ.) การเพาะน้ำตา, การเพาะวาจาชั่ว
อารามโรป : ป. คนทำสวน, คนปลูกต้นไม้ในอาราม
พารส : (ไตรลิงค์) สิบสอง. ทวิ+ทส แปลง ทฺวิ เป็น พา ท เป็น ร. รูปฯ ๓๙๖.
พารณเสยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองพาราณสี, ผู้อยู่ในเมืองพาราณสี. เณยฺย ปัจ. ก สกัด หรือ เณยฺยก ปัจ.
พาราณสี : (อิต.) พาราณสี ชื่อพระนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ.
พาราณเสยฺยก : ค. แห่งเมืองพาราณสี, สิ่งที่ทำหรือมาจากเมืองพาราณสี
พากุจี : (อิต.) กำยาน. วกฺ อาทาเน, อโจ, วสฺส โพ, อสฺส อุ, อิตฺถิยํ อี.
พาธน : (ปุ.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
พานี : (อิต.) นางฟ้า (ผู้บำเรอเทวบุตร)?
พาลา : อิต. เด็กหญิง
พาลากา : (อิต.) นกตะกรุม.
พาลิส : (วิ.) เขลา, โง่. พาล+อิส สกัด.
พาลิสิก : (ปุ.) คนผู้จับปลาด้วยเบ็ด, พรานเบ็ด, พลิส+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
พาวีสติ : (ปุ.) ยี่สิบสอง. ทวิ+วีสติ.
พาสุกี : (ปุ.) พญางู, พญนาค. ดู วาสุกี.
พาหน :
(นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องนำไป, ยาน. ดู วาหน ด้วย.
พาหาปรมฺปรา : อิต. การคล้องแขนด้วยแขน, การควงแขนกัน
พาหิต : ค. อันเขากั้น, ซึ่งเขาป้องกัน
พาหิตตฺต : นป. การกั้น, การป้องกัน
พาหิตปาป : (วิ.) มีบาปอันลอยแล้ว.
พาหิติกา : อิต. เสื้อคลุม, เสื้อกันหนาว
พาหิริม : ค. อันมีในภายนอก