Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสียงร้อง, เสียง, ร้อง , then รอง, ร้อง, สยง, เสียง, เสียงร้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เสียงร้อง, 395 found, display 1-50
  1. นาท : (ปุ.) การบันลือ, การแผดเสียง, ความบันลือ, ความแผดเสียง, เสียง, เสียงร้อง, เสียงบันลือ. วิ. นทนํ นาโท. นทฺ อพฺยตฺสทฺเท, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นาท.
  2. รณ : (ปุ.) การร้อง, เสียง, เสียงร้อง, การรบ, สงคราม, กิเลส, ความชั่ว, ความเสียหาย, บาป. รณฺ สทฺเท, อ.
  3. นทิต : นป. เสียงคำราม,เสียงร้อง
  4. ราว : ป. เสียง, เสียงร้อง
  5. อภิรุต : นป. เสียง, เสียงร้อง
  6. คชฺชน : (นปุ.) การร้อง, การกระหึม, การคำรน, การคำราม, เสียงร้อง (เสียงฟ้า), ฯลฯ, ฟ้าร้อง. คชฺชฺ สทฺเท, ยุ.
  7. กิริ- กิริ : อ. เสียงร้อง “กิริ- กิริ” ของนก
  8. อภิสสนา : อิต. เสียงร้อง (ของม้า)
  9. : (ปุ.) เสียง, สำเนียง, เสียงร้อง. ฏี ปกฺขนฺทเน, อ. การปิด, การปกปิด, การกำบัง, เครื่องปิด, ฯลฯ ฏิ ฏี วา อจฺฉาทเน, อ. นก. ฏิ ฏี วา อากาสคมเน, อ.
  10. กายน : (นปุ.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง ร้อง. กุ สทฺเท, ยุ. แปลง อุ เป็น อาย.
  11. ฆุรติ : ก. กลัว, น่ากลัว; ออกเสียง, ร้อง, กล่าว
  12. ชนติ : ก. ทำเสียง, ออกเสียง, ร้อง
  13. นทติ : ก. บันลือ, แผดเสียง, คำราม, ร้อง
  14. ปวชฺชติ : ก. ออกเสียง, สวด,ร้อง
  15. สราว : ป. การร้อง; เสียง
  16. อุคฺคชฺชติ : ก. ตะโกน, คำราม, ร้อง, ออกเสียง
  17. คคฺคร : นป. เสียงร้อง, เสียงคำราม
  18. อาราว : ป. เสียงร้อง, เสียงครวญคราง
  19. กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
  20. ถนยติ : ก. คำราม, แผดเสียง, (ฟ้า) ร้อง
  21. กลติ : ก. เปล่งเสียงร้อง, ร้องออกมา
  22. กลิต : กิต. เปล่งเสียงร้อง
  23. กากวสฺส : ป. เสียงร้องของกา, เสียงร้องดุจเสียงกา
  24. กาโกรว : ป. เสียงร้องของกา, เสียงการ้อง
  25. กุกุร กุกุห : (ปุ.) นกเขา (ร้องเสียงกุกุ).
  26. กุชฺชติ : ก. (นก) ส่งเสียงร้อง
  27. กุญฺจนาท : (ปุ.) เสียงร้องแห่งช้าง, เสียงบันลือ แห่งช้าง. วิ. คชานํ นาโท กุญฺจนาโท นาม. ใช้ คช แทน กุญฺจ. ดู โกญฺจนาท ด้วย.
  28. กูชน : นป. เสียงนกร้องเจี๊ยบจ๊าบ
  29. กูชิต : นป., ค. เสียงนกร้อง; กึกก้องด้วยเสียงนกร้อง
  30. เกกา : (อิต.) เสียงร้องของนกยูง วิ. กายติ กายนํ วา กา, เก มยูเร ปวตฺตา กา เกกา. เป็น อุลตตสมาส. ส. เกกา.
  31. คคฺครายติ : ก. ร้อง, คำราม, แผดเสียง, คราง
  32. คชฺชนา : อิต. การร้อง, การคำราม, การแผดเสียง
  33. คชฺชิตุ : ป. ผู้ร้อง, ผู้คำราม, ผู้แผดเสียง
  34. คนฺธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๔ ใน ๗ อย่าง เสียงเหมือนแพะร้อง วิ. คนฺธ เลสํ อรตีติ คนฺธโร. คนฺธปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. คนฺธโร เอว คนฺธาโร.
  35. คีตรว, - สทฺท, - สร : ป. เสียงขับร้อง, เสียงเพลง
  36. ฆุสติ : ก. ออกเสียง, ประกาศ, ป่าวร้อง
  37. โฆสา : (อิต.) เสียง, เสียงกึกก้อง, เสียงป่าวร้อง, ความกึกก้อง. ฆุสนํ โฆโส. ฆุสฺ สทฺเท, โณ.
  38. จงฺการ จงฺโคร : (ปุ.) นกกะปูด (ขนปีกแข็งอก ดำ ร้องเสียงปูดๆ เวลาน้ำขึ้น) นกปูด หรือ นกกดปูด ก็เรียก, นกออก, นกกาน้ำ, นก โพระดก.
  39. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  40. เธวต : (ปุ.) เธวตะ ชื่อเสียงดนตรีอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง เสียงเหมือนม้าร้อง. อภิฯ วิ. ธีมนฺเต วทียเตติ เธวโต. โต, วณฺณวิกาโร, ฏีกาอภิฯ วิ. ธีมนฺเตหิ คียเตติ เธวโต. วณฺณวิกาโร, มสฺส วตฺตํ.
  41. นทน : นป. การบันลือ, การแผดเสียง, การคำราม, การร้อง
  42. นิกูชติ : ก. ร้องเสียงแหลม, ส่งเสียงร้องด้วยความยินดี, คุยอย่างสนุก
  43. นิกูชิต : ค. ซึ่งร้องเสียงแหลม, ซึ่งส่งเสียง
  44. นิรว : (วิ.) มีเสียงออกแล้ว, ไม่มีเสียง, ปราศ จากเสียง, มีเสียงร้องออกแล้ว, ฯลฯ, ไม่มีเสียงอึกทึก, เงียบ.
  45. นิสาท : ค. เสียงเหมือนช้างร้อง
  46. ปฏิรว : ป. การร้องตะโกน, เสียงคำราม, เสียงร้องตอบ
  47. ปนาท : ป. การบันลือลั่น, เสียงโห่ร้องด้วยความยินดี
  48. ปนาเทติ : ก. บันลือลั่น, แผดเสียง, ตะโกน, โห่ร้อง (ด้วยความยินดี)
  49. พกฺกุล : ป., นป. ปีศาจ, การเปล่งเสียงร้องอย่างน่ากลัว
  50. พทฺธราว : ป. เสียงร้องของสัตว์ที่ติดบ่วง
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-395

(0.0604 sec)