Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แย่งตำแหน่ง, ตำแหน่ง, แย่ง , then ตำหนง, ตำแหน่ง, ยง, ยงตำหนง, แย่ง, แย่งตำแหน่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แย่งตำแหน่ง, 80 found, display 1-50
  1. ฐาน : นป. ฐานะ, การตั้งอยู่, การดำรงอยู่, การหยุดอยู่, ที่ตั้ง, หลักแหล่ง, ตำแหน่ง, เหตุ, โอกาส
  2. อจฺฉินฺทติ : ก. ลัก, ตัด, ปล้น, แย่ง, ชิง
  3. อโลปติ : ก. ปล้น, แย่ง, ชิง, ตัด
  4. อวฏฺฐาน : นป. ฐานะ, ตำแหน่ง, ที่ตั้ง
  5. ฐานนฺตร : (นปุ.) ลำดับแห่งตำแหน่ง, ฐานันดร ( ตำแหน่ง ตำแหน่งยศ ลำดับ แห่งยศ บรรดาศักดิ์, หน้าที่การงาน). ฐาน + อนฺตร.
  6. ฐานานุรูป : (วิ.) ควรแก่ตำแหน่ง, สมควรแก่ ตำแหน่ง, สมควรแก่ฐานะ, เหมาะแก่ ฐานะ, ฐานานุรูป ( ควรสมควรแก่สภาพ ของตน ).
  7. อุปาธิ : ป. ตำแหน่ง, ฐานะ, หมอน, เครื่องตกแต่ง
  8. ครุฏฐานิย : ค. ผู้ตั้งอยู่ในตำแหน่งครู, ผู้ควรแก่การเคารพนับถือและยกย่อง
  9. คุณวุฑฺฒิ : (อิต.) ความเจริญด้วยความดี, ฯลฯ, คุณวุฒิ (ความสามารถที่เหมาะสมแก่ ตำแหน่งหน้าที่)
  10. ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
  11. ฐานิก : ค. ผู้มีฐานะ, ผู้รับตำแหน่ง
  12. ฐานีย : ๑. นป. พระนคร, เมืองหลวง; ๒. ค. อันควรแก่การตั้งใจ, อันควรแก่ตำแหน่ง
  13. ถานนฺตร : (นปุ.) ลำดับแห่งตำแหน่ง, ที่อัน พิเศษ, ถานันดร ( ลำดับชั้นบุคคล ลำดับ แห่งยศ บรรดาศักดิ์ หน้าที่ การงาน).
  14. นิลฺโลป : (ปุ.) การปล้น, การชิง, การแย่งชิง. นิปุพฺโพ, ลุปฺ วิลุมฺปเน, โณ.
  15. ปุโรหิต : (ปุ.) พราหมณ์ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่บุรี, อำมาตย์ผู้บำเพ็ญประโยชน์แก่บุรี, ปุโรหิต ประโรหิต ผู้เป็นที่ปรึกษาในทางนิติ คือ กฎหมาย ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ผู้ดำรงตำแหน่งพระอาจารย์. ปุร+หิต แปลง อ ที่ ร เป็น โอ.
  16. ยสวิโลป เสนาปติฏฺฐานาทิก : (วิ.) (อุปสฺคฺค) มีการถอดซึ่งยศและการลดซึ่งตำแหน่ง มีตำแหน่งแห่งเสนบดี เป็นต้น.
  17. ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
  18. สาราณิยกร : (ปุ.) สาราณิยกร ชื่อบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษา มีหน้าที่อย่างบรรณธิการ.
  19. เสนาปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งเสนา, บุคคลผู้เป็นเจ้าแห่งเสนา, ขุนพล, นายพล, เสนาผู้ใหญ่, เสนาบดี ชื่อตำแหน่ง ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ผู้เป็นหัวหน้าของกระทรวง ปัจจุบันเรียกว่ารัฐมนตรี. ส. เสนาปติ.
  20. เหรญฺญก : (ปุ.) บุคคลผู้เกี่ยวกับเงิน, พนักงานคลังเงินทอง, เหรัญญิก ชื่อคนผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการของสมาคมหรือหน่วยงาน มีหน้าที่รับเก็บและจ่ายเงิน.
  21. อคฺคชายา : (อิต.) ภริยาผู้ประเสริฐ, อัครชายา(หญิงผู้ดำรงตำแหน่งมเหสี). ส. อคฺรชายา.
  22. อจฺฉินฺทน : (นปุ.) การตัดรอน, การชิง, การชิงเอาไป, การแย่งชิง.อาปุพฺโพ, ฉิทฺเฉทเน, ยุ.
  23. อจฺเฉทน : นป. การลัก, การแย่งชิง
  24. อปราชิตปลฺลงฺก : (ปุ.) บัลลังก์อันใคร ๆ ชนะไม่ได้, บัลลังก์อันใคร ๆ แย่งชิงไม่ได้, อปราชิตบัลลังก์คือบัลลังก์ที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งวันตรัสรู้.
  25. อพฺภติก : ค. ตำแหน่งสูง, ฐานันดรสูง, นำมาแล้ว, หามาได้แล้ว
  26. อภิเสเจติ : ก. ให้อภิเษก, ให้ประพรม, ให้ดำรงตำแหน่ง
  27. อาสภฏฺฐาน : นป. คอกวัว, ตำแหน่งที่มีชื่อเสียง, ความเป็นผู้นำ
  28. โอปรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาผู้รอง, ตำแหน่งอุปราช
  29. โอสาเรติ : ก. บรรจุเข้าตำแหน่งเดิม, เรียกเข้าหมู่ ; อธิบาย, ชี้แจง, นำมาพิจารณา
  30. เชฏฺฐ เชฏฺฐก : (วิ.) เจริญที่สุด, สูงสุด, เจริญ ยิ่ง, ประเสริฐยิ่ง. วุฑฺฒศัพท์อิฏฺฐ ปัจ แปลง วุฑฺฒ เป็น ช เอา อิ ที่ ปัจ. เป็น เอ รูปฯ ๓๗๕. ส. ชฺยษฺฐ.
  31. ตพฺพ : (วิ.) ยิ่ง, มาก, หนา, ตั้งมั่น, มั่นคง, เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อาศัย, ตั้งไว้, ทรงไว้. ตลฺ ปติฎฺฐายํ, โพ, ทฺวิตฺติ, ลูโลโป.
  32. ติปฺป : ค. แหลม, คม, กล้า, แข็ง, ล้ำ, ยิ่ง, มืด, หนา
  33. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  34. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  35. นามาภิเธยฺย : (นปุ.) ชื่ออันบุคคลทรงไว้ ยิ่ง, พระนาม, พระนามาภิไธย.
  36. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  37. ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
  38. ปรมตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์อย่างยิ่ง, เนื้อความอย่างยิ่ง, ความอย่างยิ่ง, ฯลฯ, อรรถอย่าง ยิ่ง, ปรมัตถ์ คือพระอภิธรรม.
  39. พาฬฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฬฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ฬตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโฬ. แปร ฬ ไว้หน้า ห ทีฆะ.
  40. ภิญฺโญ : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, โดยยิ่ง, ยิ่งขึ้นไป.
  41. ภิยฺโย : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, ยิ่งขึ้น, ยิ่งขึ้นไป, โดยยิ่ง, อีก, เกิน, มาก, เศษ (สิ่งที่เกิน), นัก, หนักเข้า. รูปฯ ว่าลงใน ปฐมา ทุติยา ด้วย.
  42. ภุส : (วิ.) กล้า, มีกำลัง, ล้ำ (ยิ่ง), ดี, ดียิ่ง, ใหญ่ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, เลิศ, ประเสริฐ. ภสฺ วิปุลเน, อ, อสฺสุ. เป็น ภูส. บ้าง.
  43. มห : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อ. หรือ มหนฺต ศัพท์แปลงเป็น มห.
  44. มหคฺคตารมฺมณ : (วิ.) มีอารมณ์เป็นรูปาวจร และ อรูปาวจร. มห (ยิ่ง)+คต+อารมฺมณ.
  45. มหนฺต : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก, โต, ผู้ใหญ่, แก่. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อนฺโต.
  46. มายูร : ป. ฝูงนกยง
  47. สาร : (วิ.) สูงสุด, อุดม, ยิ่ง, แข็ง, สำคัญ, เป็นหลักฐาน, ที่พึ่ง. สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, โณ.
  48. สาหส : (วิ.) เป็นไปพลัน, ผลุนผลัน, ร้ายแรง, รุนแรง, เร็ว, พลัน, เร็วพลัน, ยิ่ง, นัก, ยิ่งนัก, สาหัส(หนักรุนแรง). สห (พล)+ ณ ปัจ. ลงในอรรถ ปภว สฺ อาคม.
  49. สุ : (อัพ. อุปสรรค) ดี, สวย, งาม, ง่าย, ชอบ, โดยชอบ, โดยสมควร, ยิ่ง, มาก, สุข, สบาย, พลัน, เร็ว, สำเร็จ.
  50. อคฺค : (วิ.) มาก, ยอด, ยิ่ง, ดียิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, เป็นประธาน, ก่อน, แรก, หัวปี (ทีแรก เกิดก่อน), เอก, สูง, สูงสุด.วิ.อชติคจฺฉติเสฏฐภาวนฺติอคฺโค. อชฺ คมเน, อ, ชสฺส โค. คปจฺจโย วา. ส. อคฺร.
  51. [1-50] | 51-80

(0.0650 sec)