Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความฉลาด, ฉลาด, ความ , then ความ, ความฉลาด, ฉลาด, ฉลาต .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ความฉลาด, 3323 found, display 51-100
  1. พิทูร : [พิทูน] ว. วิทูร, ฉลาด, รอบรู้, ชํานาญ. (ดู วิทูร).
  2. พื้นความรู้ : น. ระดับความรู้.
  3. ฟังความข้างเดียว : ก. เชื่อถือแต่ฝ่ายเดียวโดยไม่ฟังความอีกฝ่ายหนึ่ง.
  4. มากหมอมากความ : (สํา) ว. หลายคนก็มีความเห็นแตกต่างกัน เป็นหลายอย่างจนตกลงกันไม่ได้.
  5. มูลความ : [มูนละ-] น. ความเดิม.
  6. ไม่ได้ความ : ว. ไม่ได้เรื่อง, ไม่ได้การ, เช่น พูดไม่ได้ความ, ไม่ดี, ใช้การไม่ได้, เช่น ของไม่ได้ความ.
  7. ไม่เอาความ : ก. ไม่ฟ้องร้องเอาความผิดตามกฎหมาย.
  8. ยอมความ : (กฎ) ก. ตกลงระงับคดีอาญาที่เป็นความผิดต่อส่วนตัวก่อน คดีถึงที่สุด.
  9. ยาวความ : ว. ต่อความให้ยืดยาวออกไปโดยไม่จำเป็น เช่น อย่าพูดให้ ยาวความ.
  10. ระบิ, ระบิล : น. เรื่อง, ความ, ฉบับ, อย่าง.
  11. ราวความ : น. เนื้อความที่ต่อเนื่อง เช่น เรื่องนี้ยังต้องไปสืบสาวราวความ ให้ละเอียด.
  12. รู้ฉลาด : ก. เอารัดเอาเปรียบ เช่น เขารู้ฉลาดกินแต่ของเพื่อน ของตัวเก็บไว้.
  13. ลงความเห็น : ก. มีความเห็นร่วมกัน.
  14. ล้อความตาย, ล้อมฤตยู, ล้อมัจจุราช : ก. กระทำการใด ๆ ที่เสี่ยงต่อ ความตาย.
  15. ลูกความ : (กฎ) น. ผู้มีคดีความซึ่งทนายความรับว่าความให้.
  16. เลาความ : น. รูปความหรือราวความแต่ย่อ ๆ พอเป็นเค้าเรื่อง.
  17. เลิกความ : (ปาก) ก. ยอมความ.
  18. เลี้ยงความ : ก. อาการที่ทนายความของโจทก์และจำเลยสมคบกัน ถ่วงคดีความให้ล่าช้า โดยประสงค์ที่จะเรียกค่าใช้จ่ายในการว่าความ ที่ต้องยืดเยื้อออกไป.
  19. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น : ก. ผลัดกันแสดงความคิดเห็นในการ ประชุมเป็นต้น.
  20. ว่าความ : ก. (กฎ) ว่าต่างหรือแก้ต่างแทนคู่ความในคดี; (โบ) ชําระความ เช่น ท้าวมาลีวราชว่าความ.
  21. วิจักขณ์, วิจักษณ์ : ว. ที่รู้แจ้ง, ที่เห็นแจ้ง, ฉลาด, มีสติปัญญา, เชี่ยวชาญ, ชํานาญ. (ป. วิจกฺขณ; ส. วิจกฺษณ).
  22. ส่งความสุข : ก. ตั้งจิตอธิษฐานให้ผู้รับบัตรอวยพรมีความสุขความเจริญ ในวันสำคัญ เช่น วันปีใหม่ วันเกิด.
  23. สอบความถนัด : ก. ทดสอบดูว่ามีความถนัดหรือความสามารถใน ทางใดบ้าง, ทดสอบดูว่ามีความถนัดในสาขาวิชาที่ต้องการเข้าศึกษา หรือในงานที่จะต้องทำหรือไม่.
  24. สอบเทียบ, สอบเทียบความรู้ : ก. สอบเพื่อเทียบว่ามีความรู้เข้าเกณฑ์ มาตรฐานที่ทางราชการกำหนดหรือไม่.
  25. หมอความ : (ปาก) น. ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ว่าต่างแก้ต่างคู่ความในเรื่อง อรรถคดี, ทนาย หรือ ทนายความ ก็เรียก.
  26. แหลม : [แหฺลม] ว. มีปลายเสี้ยมคม เช่น มีดปลายแหลม; ไว, ฉลาด, เช่น ปัญญา แหลม; ชํานาญจนรู้ได้ทันทีว่าอะไรจริงอะไรไม่จริง เป็นต้น เช่น ตาแหลม; มีระดับสูง เช่น เสียงแหลม; จัด เช่น รสหวานแหลม. น. แผ่นดิน หรือภูเขาที่ยื่นลํ้าออกไปในทะเลหรือมหาสมุทร. ก. ล่วงลํ้า.
  27. เกลื่อน ๒, เกลื่อนความ : [เกฺลื่อน] ก. เสความ.
  28. ค้าความ : ก. ชอบหาเรื่องขึ้นโรงศาล.
  29. คู่ความ : (กฎ) น. บุคคลผู้ยื่นคําฟ้องหรือถูกฟ้องต่อศาล และหมายความ รวมถึงบุคคลผู้มีสิทธิกระทําการแทนบุคคลนั้น ๆ ตามกฎหมายหรือ ในฐานะทนายความ.
  30. เจ้าถ้อยหมอความ : น. ผู้ที่ชอบเอากฎหมายมาอ้าง, ผู้มักใช้โวหาร พลิกแพลงไปในทางกฎหมาย.
  31. ฉลวยฉลาด : ว. ปัญญาดีงาม.
  32. ได้ความ : ก. ได้เรื่อง, ได้การ.
  33. ต่อความยาวสาวความยืด : ก. พูดกันไปพูดกันมาให้มากเรื่องเกินสมควร.
  34. เนื้อความ : น. ข้อความทั่ว ๆ ไป.
  35. เบิกความ : (กฎ) ก. ให้ถ้อยคําต่อศาลในฐานะพยาน.
  36. ประนีประนอมยอมความ : (กฎ) น. ชื่อสัญญาซึ่งผู้เป็นคู่สัญญาทั้ง ๒ ฝ่าย ระงับข้อพิพาทอันใดอันหนึ่งซึ่งมีอยู่หรือจะมีขึ้นนั้นให้เสร็จ ไปด้วยต่างยอมผ่อนผันให้แก่กัน.
  37. รังสีความร้อน : น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วง คลื่นประมาณระหว่าง ๗.๘ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๑ มิลลิเมตร, รังสี อินฟราเรด ก็เรียก.
  38. รู้ความ : ก. เข้าใจภาษา (ใช้แก่เด็ก).
  39. เรียงความ : ก. นำข้อความต่าง ๆ มาแต่งเรียบเรียงให้เป็นเรื่องเป็นราว, แต่งหนังสือในลักษณะที่ใช้พูดหรือเขียนกันเป็นสามัญ ต่างจากลักษณะ ที่แต่งเป็นร้อยกรอง. น. เรื่องที่นำข้อความต่าง ๆ มาแต่งเรียบเรียงขึ้น.
  40. สวนความ : ก. สอบเปรียบเทียบข้อความ.
  41. อ่อนความ : ก. ขาดประสบการณ์.
  42. อายุความ : (กฎ) น. ระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดให้ใช้สิทธิ เรียกร้อง บังคับฟ้อง หรือร้องทุกข์.
  43. ชีพ, ชีพ : [ชีบ, ชีบพะ] น. ชีวิต เช่น เสียชีพอย่าเสียสัตย์; ความ เป็นอยู่, ความดำรงชีวิตอยู่ เช่น ค่าครองชีพ. (ป., ส. ชีว).
  44. ธรรมปฏิสัมภิทา : น. ปฏิสัมภิทา ๑ ใน ๔ อย่าง คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา หมายถึง ปัญญาอันแตกฉานในธรรม คือ ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง, ความ เข้าใจถือเอาใจความแห่งอธิบายนั้น ๆ ตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อขึ้นได้. (ป.).
  45. บริคณห์ : [บอริคน] (แบบ) น. เรือน; คําที่แน่นอน, สิ่งที่ถูกต้องแล้ว; ความ กําหนดถือเอา, ความยึดถือ, การจับ. ก. นับคะเน, ประมวล. (ป. ปริคฺคหณ).
  46. บริจาค : [บอริจาก] ก. สละให้, เสียสละ. น. การสละ, การให้, การแจก, ความ เสียสละ, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม. (ดู ทศพิธราชธรรม หรือ ราชธรรม). (ป. ปริจฺจาค).
  47. ฤต : [รึด] น. กฎ, วินัย, (เช่นในพระศาสนา); ธรรมเนียม, ความจริง, ความ ชอบธรรม. (ส.).
  48. เศาจ : [เสาจะ] น. ความสะอาด, ความบริสุทธิ์; การชําระล้าง; ความ ซื่อตรง. (ส. เศาจ, เศาจฺย; ป. โสเจยฺย).
  49. สลาด : [สะหฺลาด] น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Notopterus notopterus ในวงศ์ Notopteridae รูปร่างคล้ายปลากราย หัวและลําตัวแบนข้างมาก ท้องเป็นสันคม ปากตํ่า สันหัวแอ่นลงเล็กน้อย ครีบหลังเด่นแต่มี ขนาดเล็กเท่า ๆ กันกับครีบอก ครีบท้องเล็ก ครีบก้นยาวต่อเนื่อง กับครีบหางซึ่งเล็กและมีขอบกลม พื้นลําตัวสีขาว หลังเทา ไม่มี จุดสีเด่นหรือลวดลายสีเข้มใด ๆ ขนาดยาวเพียง ๓๕ เซนติเมตร, ฉลาด หรือ ตอง ก็เรียก.
  50. อกุศลเจตนา : [อะกุสนละเจดตะนา] น. ความตั้งใจเป็นบาป, ความ คิดชั่ว. (ส.; ป. อกุสลเจตนา).
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3323

(0.1333 sec)