Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 210 found, display 1-50
  1. : พยัญชนะตัวที่ ๒๐ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกในแม่ก.
  2. บัสวิน, บัสวี : [ะบัสะ-] (แบบ) น. ผู้ประพฤติความเพียร, ฤษี, เพศหญิงว่า บัสวินี. (ส. ตปสฺวินฺ).
  3. ครึ่ : [คฺรึ่] ว. าษไป, เกลื่อนไป, เช่น คนมากันครึ่ สีแงครึ่, ครื ก็ว่า.
  4. จรลา, จรหลา : [จะระหฺลา] (กลอน) น. ตลา, ที่ชุมนุมซื้อขายของต่าง ๆ, เช่น จบจรลาแลทาง ทั่ว้าว. (นิ. นรินทร์), จรหลาเลขคนหนา ฝ่งงเฝ้า. (กำสรวล).
  5. แว้ : ว. เสียงังเช่นนั้น เช่น ตวาแว้. (ปาก) ก. ขึ้นเสียง เช่น พู้วยี ๆ กลับมาแว้ใส่อีก.
  6. กระตรุ : น. ตะกรุ, กะตรุ หรือ กะตุ ก็ว่า.
  7. กระแตแต้แว้ : ดู ต้อยตีวิ.
  8. กระแตแต้แว้ : น. ใช้เปรียบผู้หญิงที่ชอบจุ้นจ้านเจ้ากี้เจ้าการ.
  9. กระหรอ : [-หฺรอ] น. นกกรอ. (ดู ปรอ).
  10. กะเปีย : น. ชื่อไม้ต้นขนากลางชนิ Premna tomentosa Willd. ในวงศ์ Labiatae ลักษณะคล้ายต้นสัก แต่ใบเล็กกว่า รูปไข่หรือรี ปลายแหลมก้านยาว เนื้อไม้ละเอีย ใช้ทําประโยชน์ไ้, พายัพเรียก สักขี้ไก่.
  11. ขมุขมิ : [ขะหฺมุขะหฺมิ] ว. กระหมุกระหมิ, หวุหวิ; บิกระหมว; ไม่แน่น, ไม่ถึง, ไม่ถนั.
  12. เชีย : (ปาก) น. พ่อหรือแม่ของทว, เทีย ก็ว่า.
  13. ซี้ : ว. เสียงอย่างเสียงสูปากเช่นกินอาหารเผ็เป็นต้น.
  14. : ว. ใช้ประกอบคํากริยาบางคําเพื่อเน้นความหมายว่า ตรง เช่น ชี้เ่ ตั้งเ่.
  15. : บ. แก่ (ใช้ในที่เคารพ).
  16. : ว. ใช้ประกอบคํากริยาบางคําเพื่อเน้นความหมายว่า ตรงขึ้นไป หรือเ่น ตําตาอยู่ เช่น นั่งหัวโ่ ตั้งโ่.
  17. : พยัญชนะตัวที่ ๒๑ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะก ในแม่กในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น จิต เมตตา ฟุต.
  18. ตะโล้โป๊ : น. ชื่อกลองสองหน้าชนิหนึ่ง ยาวประมาณ ๗๘ เซนติเมตร ใช้ตีประกอบการฟ้อนและการเล่นพื้นเมือง ทางภาคเหนือ, คู่กับ กลองแอว.
  19. ปรู, ปรู๊ : [ปฺรู, ปฺรู๊] ว. อาการที่นํ้าหรือของเหลวเป็นต้นพุ่งออกจาก ช่องแคบโยเร็วแรง, โยปริยายหมายความว่า ฉับไว.
  20. เผือกโทป้า : ดู กระ, กระขาว.
  21. พลวใหญ่ : [พฺลว] ดู กระทุ.
  22. ย่องเหง็ : น. จ้องหน่อง. (ช.).
  23. เยียยั : ก. ยัเยีย.
  24. ระเลีย : ว. ทีละน้อย ๆ.
  25. : น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะก ว่า แม่ก หรือ มาตราก.
  26. มาตรา : [มาตฺรา] น. หลักกําหนการวัขนา จํานวน เวลา และมุม เช่น มาตราชั่ง ตวง วั มาตราเมตริก; แม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับสระ โยไม่มีตัวสะก เรียกว่า แม่ ก กา หรือ มาตรา ก กา, หลักเกณฑ์ที่ วางไว้เพื่อให้กำหน้ว่าคำที่มีพยัญชนะตัวใบ้างเป็นตัวสะก อยู่ในมาตราใหรือแม่ใ คือ ถ้ามีตัว ก ข ค ฆ สะก จัอยู่ใน มาตรากกหรือแม่กก, ถ้ามีตัว ง สะก จัอยู่ในมาตรากงหรือ แม่กง, ถ้ามีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะก จัอยู่ในมาตรากหรือแม่ก, ถ้ามีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะก จัอยู่ในมาตรากนหรือแม่กน, ถ้ามีตัว บ ป พ ฟ ภ สะก จัอยู่ ในมาตรากบหรือแม่กบ, ถ้ามีตัว ม สะก จัอยู่ในมาตรากม หรือแม่กม, ถ้ามีตัว ย สะก จัอยู่ในมาตราเกยหรือแม่เกย, ถ้ามีตัว ว สะก จัอยู่ในแม่เกอว; (กฎ) บทบัญญัติใน กฎหมายที่แบ่งออกเป็นข้อ ๆ โยมีเลขกํากับเรียงตามลําับ; (ฉันทลักษณ์) ระยะเวลาการออกเสียงสระสั้นยาว สระสั้น ๑ มาตรา สระยาว ๒ มาตรา.
  27. แม่ : น. หญิงผู้ให้กําเนิหรือเลี้ยงูลูก, คําที่ลูกเรียกหญิงผู้ให้กําเนิหรือเลี้ยงูตน; คําที่ผู้ใหญ่เรียกผู้หญิงที่มีอายุน้อยกว่า้วยความสนิทสนมหรือรักใคร่เป็นต้นว่า แม่นั่น แม่นี่; คําใช้นําหน้านามเพศหญิง แปลว่า ผู้เป็นหัวหน้า เช่น แม่บ้าน; ผู้หญิงที่กระทํากิจการหรืองานอย่างใอย่างหนึ่ง เช่น ค้าขาย เรียกว่า แม่ค้า ทําครัว เรียกว่า แม่ครัว; เรียกสัตว์ตัวเมียที่มีลูก เช่น แม่ม้า แม่วัว; เรียกคน ผู้เป็นหัวหน้าหรือเป็นนายโยไม่จํากัว่าเป็นชายหรือหญิง เช่น แม่ทัพ แม่กอง; คํายกย่องเทวาผู้หญิงบางพวก เช่น แม่คงคา แม่ธรณี แม่โพสพ, บางทีก็ใช้ว่า เจ้าแม่ เช่น เจ้าแม่กาลี; เรียกสิ่งที่เป็นประธานของสิ่งต่าง ๆ ในพวกเียวกัน เช่น แม่กระไ แม่แคร่ แม่แบบ; เรียกชิ้นใหญ่กว่าในจําพวกสิ่งที่สําหรับกัน เช่น แม่กุญแจ คู่กับ ลูกกุญแจ; แม่นํ้า เช่น แม่ปิง แม่วัง; คําหรือพยางค์ที่มีแต่สระ ไม่มีตัวสะก เรียกว่า แม่ ก กา, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะก เรียกว่า แม่กก, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ง สะก เรียกว่า แม่กง, คําหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะก เรียกว่า แม่ก, คําหรือพยางค์ ที่มีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะก เรียกว่า แม่กน, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ม สะก เรียกว่า แม่กม, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ย สะก เรียกว่า แม่เกย แต่ในมูลบทบรรพกิจมี ย ว อ สะก, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ว สะก เรียกว่า แม่เกอว.
  28. อโฆษะ : ว. ไม่ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียง ไม่สั่น ในภาษาไทยไ้แก่เสียง อ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง บ เมื่อเป็นพยัญชนะสะก และเสียง ก ค จ ช ซ ต ท ป พ ฟ ฮ เสียงสระ ในภาษาไทยไม่เป็นอโฆษะ, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและ สันสกฤตที่มีเสียงไม่ก้องว่า พยัญชนะอโฆษะ ไ้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑, ๒ ของวรรค และ ศ ษ ส. (ส.; ป. อโฆส).
  29. อักษรกลาง : [อักสอน] น. พยัญชนะที่คําเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียง สามัญ ผันไ้ครบ ๔ รูป ๕ เสียง มีรูปวรรณยุกต์กับเสียงวรรณยุกต์ ตรงกัน เช่น กา ก่า ก้า ก๊า ก๋า คําตายมีพื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผันไ้ ๔ เสียง มี ๓ รูป คือ พื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผัน้วยวรรณยุกต์ ?เป็น เสียงโท ผัน้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงตรี ผัน้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียง จัตวา เช่น จะ จ้ะ จ๊ะ จ๋ะ มี ๙ ตัว คือ ก จ ฎ ฏ ต บ ป อ.
  30. โฆษะ : ว. ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงสั่น ในภาษาไทยไ้แก่เสียง บ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง ง น ม ย ร ล ว และเสียงสระทุกเสียง, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและ สันสกฤตที่มีเสียงก้องว่า พยัญชนะโฆษะ ไ้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๓, ๔, ๕ ของวรรค และ ย ร ล ว ห ฬ. (ส.; ป. โฆส).
  31. ะ ๒ : ใช้นําหน้าคําที่ตั้งต้น้วยตัว ในบทกลอน มีความแปลอย่างเียวกับ คําเิมนั้น เช่น ่อน ัก ุ่ม.
  32. แววหัวตัวหนังสือ : น. หัวของพยัญชนะไทยบางตัวที่มีลักษณะเป็น วงกลม เช่นหัวตัว ค ง ถ.
  33. สะก : ก. กลั้นไว้, ข่มไว้, เช่น เมื่อเกิความไม่พอใจ ก็รู้จักสะกอารมณ์ ไว้บ้าง; เขียนหรือบอกตัวอักษรที่ประกอบกันเป็นคํา, เรียกพยัญชนะ ที่บังคับตัวอักษรข้างหน้าให้เป็นมาตราต่าง ๆ เช่น แม่กน น สะก แม่ก สะก. น. เรียกลูกประคําที่เป็นลูกคั่นว่า ลูกสะก. (เทียบ ข. สงฺก).
  34. หันอากาศ : น. เรียกเครื่องหมายรูปสระังนี้ ?ว่า ไม้หันอากาศ ใช้แทน เสียงสระอะในกรณีที่มีตัวสะก เช่น ก ะ = กั, หางกังหัน หรือ ไม้ผั ก็เรียก.
  35. หางกังหัน : น. เรียกเครื่องหมายรูปสระังนี้ ?ว่า หางกังหัน ใช้แทนเสียง สระอะในกรณีที่มีตัวสะก เช่น ก ะ = กั, ไม้หันอากาศ หรือ ไม้ผั ก็เรียก.
  36. รธาน : [อระทาน] ก. หายไป, ลับไป. (ตัมาจาก อันตรธาน).
  37. กระ, กระขาว : น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิ Alocasia indica Schott ในวงศ์ Araceae มีหัวใต้ิน ต้นคล้ายบอนหรือเผือกแต่ใบมีขนาใหญ่กว่า ก้านใบตอนล่างเป็นกาบสีเขียว ทั้งต้นใช้ทํายา หัวทําให้สุก แล้วกินไ้, เผือกกะลา หรือ เผือกโทป้า ก็เรียก.
  38. กระทุ : น. ชื่อไม้พุ่มชนิ Rhodomyrtus tomentosa Wight ในวงศ์ Myrtaceae ขึ้นชุมตามป่าโปร่งทางปักษ์ใต้ ใบหนา สีเขียวแก่ ออกเป็นคู่ ๆ ตามกิ่ง บางทีออกเป็น ๓ ใบจากข้อเียวกัน ้านล่างของใบมีขนทึบสั้น ๆ อกสีชมพู สัณฐานคล้ายกุหลาบลา ขนาเล็ก ๆ ออกตามง่ามใบ อกเี่ยวหรือเป็นช่อ ๒-๓ อกก็มี ผลกลม เมื่อสุกสีม่วงํา กินไ้ มีรสหอมหวาน, ทุ พรว พลวใหญ่ หรือ พลวกินลูก ก็เรียก.
  39. ขิก ๆ : ว. หัวเราะเสียงอย่างนั้น. (โบ) ก. หัวเราะเบา ๆ เช่น พระลออบ่ไ้ ขิกหัว. (ลอ).
  40. คเณศ : [คะเน] น. ชื่อเทพองค์หนึ่ง มีเศียรเป็นช้าง ถือว่าเป็นเทพแห่งศิลปะ เชื่อกันว่าถ้าบูชาแล้วจะป้องกันความขัข้องที่อาจเกิมีขึ้นไ้, วิฆเนศ พิฆเนศ วิฆเนศวร หรือ พิฆเนศวร ก็เรียก. (ส.).
  41. ครื : [คฺรื] ว. าษไป, เกลื่อนไป, เช่น คนมากันครื สีแงครื, ครึ่ ก็ว่า.
  42. ควีนสิริกิติ์ : [คฺวีนสิหฺริกิ] น. ชื่อกล้วยไม้ชนิ Cattleya 'Queen Sirikit' ในวงศ์ Orchidaceae เป็นพันธุ์ผสม อกใหญ่ สีขาว ปากเหลือง สวยงามมาก และมีกลิ่นหอม.
  43. แครง ๓ : [แคฺรง] ว. อึกทึก, กึกก้อง, เช่น อย่างแครงครวญ. (กล่อมช้างของเก่า), สงครามแครง ฟ้งเฟือ. (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
  44. จำนวน : น. ยอรวมที่กําหนนับไว้เป็นส่วน ๆ.
  45. ชัมพูนท : [ชําพูน] น. ทองคําเนื้อบริสุทธิ์ (ในคัมภีร์ไตรภูมิกล่าวว่า เกิใต้ต้นหว้า), ชมพูนท ชมพูนุท หรือ ชามพูนท ก็ว่า. (ป.; ส. ชามฺพูนท).
  46. ชามพูนท : [ชามพูน] น. ทองคําเนื้อบริสุทธิ์ (ในคัมภีร์ไตรภูมิกล่าวว่า เกิใต้ ต้นหว้า), ชมพูนท ชมพูนุทหรือ ชัมพูนท ก็ว่า. (ส. ชามฺพูนท ว่า เกิในแม่น้ำชมพูนที.).
  47. ต้อยตีวิ : น. ชื่อนกชนิ Vanellus indicus ในวงศ์ Charadriidae ตัวขนานก เขาใหญ่ หัวสีําขนบริเวณหูสีขาว มีติ่งเนื้อสีแงพาทาง้านหน้าจากขอบ ตาหนึ่งไปอีกขอบตาหนึ่ง ปากยาว ขายาวสีเหลือง ตีนมี ๔ นิ้ว นิ้วหลังเป็นติ่ง เล็ก ร้องเสียงแหลม ''แตแต้แว้'' กินสัตว์ขนาเล็ก วางไข่ในแอ่งตื้น ๆ บนพื้นิน, กระต้อยตีวิ กระแตแต้แว้ หรือ แต้แว้ ก็เรียก.
  48. ทรงเครื่อง : ก. แต่งตัวมีเครื่องประับ เช่น พระพุทธรูปทรงเครื่อง, มีเครื่องปรุงพิเศษกว่าปรกติ เช่น กระท้อนทรงเครื่อง, ประ ประอยให้งงามเป็นพิเศษ เช่น ตัวหนังสือทรงเครื่อง; (ราชา) ตัผม (ใช้แก่เจ้านาย).
  49. เทีย : (ปาก) น. พ่อหรือแม่ของทว, เชีย ก็ว่า.
  50. เนมิตก, เนมิตกะ : [เนมิตะกะ] (แบบ) น. หมอูทายลักษณะหรือโชคลาง. (ป. เนมิตฺตก).
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-210

(0.0616 sec)