Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อุบะ , then อบ, อุบ, อุบะ, อุป, อุปะ .

Royal Institute Thai-Thai Dict : อุบะ, 135 found, display 1-50
  1. อุบะ : น. เป็นดอกไม้ที่ร้อยเป็นสายแล้วเข้าพวงอย่างพู่สำหรับห้อยกับ มาลัย ห้อยระหว่างเฟื่อง หรือห้อยประดับข้างหูเป็นต้น.
  2. อุปะ : [อุปะ, อุบปะ] คําประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและ สันสกฤต แปลว่า เข้าไป, ใกล้, รอง, เช่น อุปราช อุปนายก. (ป., ส.).
  3. อบ : ก. ปรุงกลิ่นด้วยควันหรือรมด้วยกลิ่นในที่ที่ควันหรือกลิ่นกระจาย ออกไปไม่ได้; ทําให้ร้อนหรือสุกด้วยไอนํ้าหรือไอไฟในที่ที่ความ ร้อนออกไม่ได้; อากาศถ่ายเทไม่ได้.
  4. อุปสมบัน, อุปสัมบัน : [อุปะ, อุบปะ] น. ผู้อุปสมบทแล้ว, ภิกษุ, คู่กับ อนุปสัมบัน ได้แก่ ผู้ที่ไม่ได้อุปสมบท คือ สามเณรและคฤหัสถ์. (ป. อุปสมฺปนฺน).
  5. อุปการี : [อุปะ, อุบปะ] น. ผู้ช่วยเหลือ, ผู้อุดหนุน, หญิงใช้ว่า อุปการิณี.
  6. อุบอิบ, อุบอิบ ๆ, อุบ ๆ อิบ ๆ : ว. อาการที่พูดหรือบ่นเบา ๆ เป็นต้น เช่น ด่าอุบอิบ พูดอุบอิบ ๆ บ่นอุบ ๆ อิบ ๆ, อุบ ก็ว่า.
  7. อุบ ๒ : ก. นิ่งไว้ไม่เปิดเผย เช่น เรื่องนี้อุบไว้ก่อน; ถือเอา, ริบเอา, เช่น อุบเอามาเป็นของตน, ไม่ยอมให้เปลี่ยนแปลง เช่น ที่รับปาก ไว้แล้ว อุบละนะ. ว. อาการที่พูดหรือบ่นเบา ๆ เป็นต้น เช่น ด่าอุบ บ่นอุบ, อุบอิบ อุบอิบ ๆ หรือ อุบ ๆ อิบ ๆ ก็ว่า.
  8. กลิ่น ๒ : [กฺลิ่น] น. ชื่อพวงดอกไม้ร้อยมีรูปแบนประกอบด้วยอุบะ, ถ้าทําให้ผูกแขวนคว่าลงมา เรียกว่า กลิ่นคว่า, ถ้าทําให้ผูกแขวน ตะแคง เรียกว่า กลิ่นตะแคง.
  9. เปีย ๑ : น. ผมที่ไว้ยาวบริเวณท้ายทอย, ผมที่ถักห้อยยาวลงมา, ผมเปีย หรือ หางเปีย ก็เรียก, เรียกลายที่ถักตอก ๓ ขาไขว้กันว่า ลายเปีย หรือ ลายผมเปีย; พวงมาลัยที่มีอุบะห้อยลงมาเหมือนผมเปีย. (จ.).
  10. พวงมโหตร : [มะโหด] น. พวงอุบะซึ่งห้อยประดับอยู่ที่คันดาลฉัตร ทำด้วยผ้าตาดทอง, ลูกมโหตร ก็ว่า.
  11. พู่กลิ่น : น. ชื่อพวงดอกไม้ร้อยมีรูปแบนประกอบด้วยอุบะ. (ดู กลิ่น๒).
  12. เฟื่อง ๑ : น. เครื่องประดับอย่างหนึ่ง ทำเป็นสายห้อยโยงเป็นช่วง ๆ มีอุบะห้อยระหว่างเฟื่อง; เรียกโรคที่มีเสมหะกําเริบว่า เสมหะเฟื่อง.
  13. มาลัยชายเดียว : น. มาลัยที่มีอุบะห้อยชายเพียงพวงเดียว, มาลัยมือ มาลัยข้อมือ หรือ มาลัยเปีย ก็เรียก.
  14. มาลัยสองชาย : น. มาลัยที่มี ๒ ชาย มีอุบะห้อยข้างละ ๑ พวง.
  15. ลูกมโหตร : [–มะโหด] น. พวงอุบะซึ่งห้อยประดับอยู่ที่คันดาลฉัตร ทำด้วยผ้าตาดทอง, พวงมโหตร ก็ว่า.
  16. ห้อย : ก. แขวนติดอยู่ เช่น ห้อยอุบะ, ปล่อยหรือหย่อนให้แขวนติดอยู่ เช่น นั่งห้อยเท้า.
  17. อุบ ๑ : ดู คางคก.
  18. อุปเท่ห์ : [อุปะเท่, อุบปะเท่] น. อุบายดําเนินการ, วิธีดําเนินการ. (ส. อุปเทศ; ป. อุปเทส).
  19. อุปปาติกะ : [อุปะปาติกะ, อุบปะปาติกะ] น. ผู้เกิดผุดขึ้นโดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่ อาศัยอดีตกรรม ได้แก่เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย, โอปปาติกะ ก็เรียก. (ป. อุปปาติก, โอปปาติก).
  20. อุปพัทธ์ : [อุปะ, อุบปะ] ก. เนื่อง, เนื่องกัน. ว. ที่เนื่องกัน. (ป., ส.).
  21. อุปพันธ์ : [อุปะ, อุบปะ] น. การติดต่อ, การร่วม; เยื่อใย, เครื่องผูกพัน. (ป., ส.).
  22. อุบาท, อุปบาท : [อุบาด, อุบบาด] น. การบังเกิด, กําเนิด, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น พุทธุบาท (พุทธ + อุบาท), พุทธุปบาท (พุทธ + อุปบาท). (ป. อุปฺปาท; ส. อุตฺปาท).
  23. อุปสัมปทาเปกข์, อุปสัมปทาเปกษ์ : [อุปะสำปะทาเปก, อุบปะสำปะทาเปก] น. ''ผู้เพ่งอุปสมบท'' คือ นาคที่บรรพชาเป็นสามเณรแล้วและจะ ขอบวชเป็นภิกษุต่อไป. (ป. อุปสมฺปทาเปกฺข; ส. อุปสมฺปทาเปกฺษ).
  24. อุปยุวราช : [อุปะยุวะราด, อุบปะยุวะราด] น. ตําแหน่งเจ้าในนครล้านช้างรอง พระเจ้าแผ่นดิน แต่อยู่เหนืออุปราช. (ป.).
  25. อุปราคา : [อุปะราคา, อุบปะราคา] น. การทําให้ดํา, การทําให้มีมลทิน, ใน คําว่า จันทรุปราคา สุริยุปราคา.
  26. อุปเวท : [อุปะเวด, อุบปะเวด] น. คัมภีร์ ''พระเวทรอง'' ของอินเดียโบราณ เนื้อหามีลักษณะเป็นวิทยาการ ไม่นับว่าเป็นคัมภีร์ศาสนา ได้แก่ อายุรเวท (วิชาแพทย์ ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์อถรรพเวทหรือ อาถรรพเวท) ธนุรเวท (วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ถือว่าเป็น สาขาของคัมภีร์ยชุรเวท) คันธรรพเวทหรือคานธรรพเวท (วิชา การดนตรี ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์สามเวท) และสถาปัตยเวท (วิชาการก่อสร้าง ไม่ระบุว่าเป็นสาขาของคัมภีร์พระเวทใด). (ส.).
  27. อุปกาศ : [อุปะกาด, อุบปะกาด] (กลอน) ก. แจ้งข่าว เรื่อง หรือข้อความ เช่น เขือไปอุปกาศแล้ว เขือมา. (ลอ), ร้องอุปกาศสารแก่กรุงสญชัยปิตุราช. (ม. ร่ายยาว หิมพานต์).
  28. อุปถัมภ์ : [อุปะถํา, อุบปะถํา] น. การคํ้าจุน, การคํ้าชู, การสนับสนุน, การเลี้ยงดู. ก. คํ้าจุน, คํ้าชู, สนับสนุน, เลี้ยงดู. (ป. อุปตฺถมฺภ; ส. อุปสฺตมฺภ).
  29. อุปถัมภก : [อุปะถําพก, อุบปะถําพก] น. ผู้คํ้าจุน, ผู้ค้ำชู, ผู้สนับสนุน, ผู้เลี้ยงดู. (ป. อุปตฺถมฺภก; ส. อุปสฺตมฺภก).
  30. อุปเทศ : [อุปะเทด, อุบปะเทด] น. การชี้แจง, การสั่งสอน, การแนะนํา; คําสั่งสอน, คําชี้แจง, คําแนะนํา. ก. สอน, ชี้แจง, แนะนํา. (ส., ป. อุปเทส).
  31. อุปนัย : [อุปะ, อุบปะ] น. วิธีการใช้เหตุผลที่ดำเนินจากส่วนย่อยไปหา ส่วนรวม, คู่กับ นิรนัย. (อ. induction).
  32. อุปนิษัท : [อุปะ, อุบปะ] น. ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตกลุ่มหนึ่ง คัมภีร์ อุปนิษัทรุ่นแรกเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ที่สอนว่าทุกสิ่ง ทุกอย่างออกมาจากอาตมัน. (ส.).
  33. อุปบัติ : [อุปะบัด, อุบปะบัด] น. การเข้าถึง เช่น คติอุปบัติ = การเข้าถึงคติ, การเกิด. (ป. อุปปตฺติ).
  34. อุปมา : [อุปะ, อุบปะ] น. สิ่งหรือข้อความที่ยกมาเปรียบ, มักใช้เข้าคู่กับ อุปไมย ในประโยคเช่น เรื่องนี้มีอุปมาฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น. ก. เปรียบเทียบ. (ป., ส.).
  35. อุปมาน : [อุปะ, อุบปะ] น. การเปรียบเทียบสิ่งที่มีลักษณ
  36. อุปไมย : [อุปะไม, อุบปะไม] น. สิ่งหรือข้อความที่พึงเปรียบเทียบกับสิ่งอื่น เพื่อให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, คู่กับ อุปมา. (ป. อุปเมยฺย).
  37. อุปสมบท : [อุปะสมบด, อุบปะสมบด] ก. บวชเป็นภิกษุ. (ป. อุปสมฺปทา).
  38. อุปสรรค : [อุปะสัก, อุบปะสัก] น. เครื่องขัดข้อง, ความขัดข้อง, เครื่อง ขัดขวาง. (ส. อุปสรฺค; ป. อุปสคฺค); คำสำหรับใช้เติมข้างหน้า คำนามหรือคำกริยาที่เป็นรูปคำบาลีหรือสันสกฤตให้มีความหมาย แผกเพี้ยนไปจากเดิม หรือมีความหมายตรงข้ามกับความหมายเดิม เป็นต้น และถือเป็นคำเดียวกับคำนามหรือคำกริยานั้น เพราะตาม ปรกติจะไม่ใช้ตามลำพัง เช่น วัฒน์ = เจริญ อภิวัฒน์ = เจริญยิ่ง ปักษ์ = ฝ่ายปฏิปักษ์ = ฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ศัตรู.
  39. อุปฮาด : [อุปะ, อุบปะ] น. (โบ; ถิ่นอีสาน) ตำแหน่งรองจากเจ้าเมืองใน ภาคอีสานสมัยต้นรัตนโกสินทร์ เช่น พระยาก่ำได้ตั้งให้ท้าวแก้ว ผู้น้องชายเป็นอุปฮาดอยู่บ้านหนึ่งต่างหาก. (ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ : ว่าด้วยชนชาติภูไทย); (โบ; ถิ่นพายัพ) ตำแหน่งเจ้าชั้นสูงรองจาก ตำแหน่งเจ้านครในภาคเหนือ เรียกว่า พระยาอุปราช หรือ เจ้าอุปราช แต่ชาวไทยในภาคเหนือออกเสียงเป็น อุปฮาด.
  40. อุปัชฌายวัตร : [อุปัดชายะวัด, อุบปัดชายะวัด] น. กิจที่สัทธิงวิหาริก จะต้องปฏิบัติต่ออุปัชฌาย์ของตน. (ป. อุปชฺฌายวตฺต).
  41. อุปัฏฐาก : [อุปัดถาก, อุบปัดถาก] น. ผู้อุปถัมภ์บํารุงพระภิกษุสามเณร, ถ้าเป็น หญิงใช้ อุปัฏฐายิกา. (ป.).
  42. อุปัทรพ : [อุปัดทะรบ, อุบปัดทะรบ] ว. อุปัทวะ. (ส. อุปทฺรว; ป. อุปทฺทว).
  43. อุปัทว, อุปัทวะ : [อุปัดทะวะ, อุบปัดทะวะ] ว. อุบาทว์, อัปรีย์, จัญไร, ไม่เป็น มงคล, นิยมใช้คู่กับคำ อันตราย เป็น อุปัทวันตราย. (ป. อุปทฺทว; ส. อุปทฺรว).
  44. อุปัทวันตราย : [อุปัดทะวันตะราย, อุบปัดทะวันตะราย] น. สิ่ง อุบาทว์และอันตราย. (ป. อุปทฺทว + อนฺตราย).
  45. อุปาธยาย : [อุปาดทะยาย, อุบปาดทะยาย] น. อุปัชฌาย์. (ส.; ป. อุปชฺฌาย).
  46. เทียนอบ : น. เทียนที่มีส่วนผสมของสิ่งที่มีกลิ่นหอม จุดใช้ควัน อบขนมเป็นต้น.
  47. เป็นกอบเป็นกำ : (สํา) ว. เป็นผลดี, เป็นชิ้นเป็นอัน เช่น ทำให้ เป็นกอบเป็นกำ, เป็นก้อนใหญ่ ทําประโยชน์ต่อไปได้ดี เช่น ได้เงินมาเป็นกอบเป็นกำ.
  48. ว็อบแว็บ, ว็อบ ๆ แว็บ ๆ : ว. อาการที่เห็นชัดบ้างไม่ชัดบ้าง เช่น วันนี้โทรทัศน์ไม่ดี เห็นภาพ ว็อบแว็บหลายตอน.
  49. คางคก ๒ : น. ชื่อปลาไม่มีเกล็ดชนิด Batrachus grunniens และ Halophryne trispinosus ในวงศ์ Batrachoididae ปากกว้าง หัวทู่แบนลง ลําตัวกลมยาว มีสีนํ้าตาล เป็นด่างดวงทั่วไป ครีบท้องอยู่เยื้องไปข้างหน้าครีบอก หางกลม เฉพาะ ชนิดแรกมีรูที่มุมบนด้านในของครีบอก อาศัยอยู่ตามพื้นท้องทะเล, กบ บู่ทะเล ผีหลอก หรือ อุบ ก็เรียก.
  50. เครื่องสำอาง : น. สิ่งเสริมแต่งหรือบํารุงใบหน้า ผิวพรรณ ผม ฯลฯ ให้ดูงาม เช่น แป้ง ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้ว, ราชาศัพท์ว่า เครื่อง พระสําอาง; (กฎ) วัตถุที่มุ่งหมายสําหรับใช้ทา ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ หรือกระทําด้วยวิธีอื่นใดต่อส่วนหนึ่งส่วนใดของ ร่างกาย เพื่อความสะอาด ความสวยงาม หรือส่งเสริมให้เกิดความ สวยงาม และรวมตลอดทั้งเครื่องประทินผิวต่าง ๆ ด้วย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-135

(0.0698 sec)