Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ก่อนเวลา, เวลา, ก่อน , then กอน, ก่อน, กอนวลา, ก่อนเวลา, เพลา, วลา, เวล, เวลา, เวฬา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ก่อนเวลา, 290 found, display 151-200
  1. ปุพฺพาจริย : (ปุ.) อาจารย์ในก่อน,อาจารย์มีในกาลก่อน, อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดา มารดา, บุรพาจารย์
  2. ปุพฺพาสาฬฺห ปุพฺพาสาฬฺหมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยอาสาฬหฤกษ์เบื้อง ต้น, เดือนแปดแรก, เดือนแปดก่อน, เดือนแปดต้น.
  3. ปุพฺพุฏฺฐายี : (อิต.) หญิงผู้ตื่นก่อน, ภรรยา.
  4. ปุพฺเพกตปุญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันตนกระทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันได้กระทำไว้แล้วในกาลก่อน,ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในชาติก่อน.
  5. ปุพฺเพนิวาส : (ปุ.) การอยู่ในกาลก่อน, การอยู่อาศัยในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
  6. ปุพฺเพนิวาสญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่แล้วในกาลก่อน. ฯลฯ.
  7. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  8. ปุพฺเพว : (อัพ. นิบาต) ก่อนนั่นเทียว.
  9. ปุพฺเพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกันในชาติก่อน (เคยเป็นคู่กันแต่ปางก่อน)
  10. ปุราณทุติยิกา : (อิต.) หญิงผู้ที่สองมีในก่อน, หญิงที่สองมีในก่อน, ปุราณทุติยิกา คือเมียที่มีอยู่ก่อนออกบวช ภริยาเก่าครั้งเป็นคฤหัสถ์ ภริยาเก่าของผู้ออกบวช.
  11. ปุราณสาโลหิต : ค. ซึ่งสืบสายโลหิตกันมาก่อน
  12. ปุราตน : (อัพ. นิบาต) เป็นในกาลก่อน?
  13. ปุริม : (วิ.) เกิดแล้วในก่อน, เกิดในก่อน, มีในก่อน, มีในเบื้องหน้า, ต้น, เดิม. ปุร+อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  14. ปุริมชาติ : อิต. ชาติก่อน
  15. ปุริมสิทฺธิ : (อิต.) สิทธิ์อันมีในก่อน, บุริสิทธิ์ คือ อำนาจอันชอบธรรมที่เรียกได้ก่อนสิทธิธรรมดา.
  16. ปุเรคามี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ผู้มีปกติไปก่อน, ผู้มีปกติไปข้างหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ปุเร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้ไปในเบื้องหน้า ปุร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้มีปกติไปในเบื้องหน้า วิ. ปุเร คมนสีโล ปุเรคามี. ไม่ลบวิภัติของบทหน้า.
  17. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  18. ปุเรจารี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ฯลฯ. ดู ปุเรคามี เทียบ.
  19. ปุเรชาต : (วิ.) เกิดแล้วในกาลก่อน, เกิดก่อน. ปุเร+ชาต.
  20. ปุเรตร : (วิ.) ก่อนกว่า.
  21. ปุเรตร : ก. วิ. ก่อนกว่า
  22. โปราณ : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีในก่อน, อาจารย์ผู้เกิดแล้วในกาลก่อน, โบราณาจารย์. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  23. โปราณคติ : (อิต.) เรื่องมีในก่อน, เรื่องมีในกาลก่อน, เรื่องเก่า, โบราณคดี (เรื่องเกี่ยวกับโบราณ).
  24. โปราณวตฺถุ : (นปุ.) ของมีในกาลก่อน, ของเก่า, ของโบราณ, วัตถุโบราณ.
  25. พลวปจฺจุส พลวปจฺจูส : (ปุ.) กาลอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
  26. พลวปจฺจูสมย : (ปุ.) สมัยอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, สมัยอันกำจัดเสียซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
  27. พุทฺธกาล : (ปุ.) กาลแห่งพระพุทธเจ้า, เวลาที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่.
  28. พุทฺธนฺตร : (นปุ.) ระหว่างแห่งพระพุทธเจ้า, ระยะแห่งพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งกับพระพุทธเจ้าอีกพระ องค์หนึ่ง.
  29. พุทฺธปฺปาท พุทฺธุปฺปาทกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดแห่งพระพุทธเจ้า, เวลาที่พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลก (โลกยุคมีพระพุทธเจ้า).
  30. ภงฺคกฺขณ : ป. ขณะหรือเวลาที่สลายไป
  31. ภตฺตกาล : (ปุ.) เวลาแห่งภัต, ภัตกาล คือ เวลาฉันอาหารของภิกษุ-สามเณร หรือ ผู้รักษาอุโบสถศีล.
  32. ภาตุ : (วิ.) ผู้เป็นพี่น้องชายกัน, ฯลฯ. วิ. ภาตีติ ภาตา. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ราตุ. ลบ สฺ ลบ รา. ผู้พูดก่อน (พี่ชาย) วิ. ปุพฺเพภาสตีติ ภาตา.
  33. ภุตฺตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกินในเวลาเช้าอันบริโภคแล้ว.
  34. ภูตปุพฺพ : (วิ.) เป็นแล้วในก่อน, เคยเป็นแล้ว, เคยมีแล้ว, เคยมีมาแล้ว.
  35. มชฺฌณฺหิกกาล : (ปุ.) กาลประกอบแล้วในท่ามกลางแห่งวัน, เวลาเที่ยงวัน, เที่ยงวัน.
  36. มชฺฌนฺติกสมย : (ปุ.) สมัยแห่งพระอาทิตย์มีเงาตั้งอยู่ในท่ามกลางแห่งวัน, เวลาเที่ยงวัน, เที่ยงวัน.
  37. มชฺฌิมโพธิ : (อิต.) เวลาเป็นที่ตรัสรู้มีในท่ามกลาง, มัชฌิมโพธิ คือช่วงระยะเวลาตอนกลาง.
  38. มท : (ปุ.) ความเมา, ความมัวเมา, น้ำมันเป็นที่เมาแห่งช้าง, น้ำมันช้างในเวลาตกมัน, ความคะนอง, ความจองหอง, มทฺ อุมฺมาเท, อ. แปลว่า น้ำโสม เหล้า ด้วย?
  39. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  40. มรณกาล : ป. เวลาตาย
  41. มหานิสา : (อิต.) เวลาเที่ยงคืน, เที่ยงคืน. วิ. มหตี จ สา นิสา จาติ มหานิสา.
  42. มหาวิโลกน : (นปุ.) การเลือกเหตุสำคัญ, การตรวจดูเหตุใหญ่, การพิจารณาดูสิ่งใหญ่, มหาวิโลกนะ. มหาวิโลกนะ มี ๕ คือ ๑.กาล จะต้องเป็นช่วงระยะเวลาที่มนุษย์มีอายุขัย ๑๐๐ ปี ๒. ทวีป ต้องเป็นชมพูทวีป ๓. ประเทศต้องเป็นมัชฌิมประเทศ ๔. ตระกูลต้องเป็นกษัตริย์ และ ๕. มารดาต้องเป็นหญิงมีเบญจศีล. พระโพธิสัตว์จึงจะมาอุบัติเพื่อตรัสรู้.
  43. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  44. มาส : (ปุ. นปุ.) เดือน (ระยเวลา ๓๐ วัน). วิ. สตฺตานํ อายุ มิณนฺโต วิย สียติ อนฺตํ กโรตีติ มาโส. มา (นับ)+สา ธาตุ ในความจบ. สุด อ ปัจ. มิณนฺต มาจาก มาธาตุ นา และ อนฺต ปัจ. แปลง นา เป็น ณา รัสสะ. อีกอย่างหนึ่งเป็น มสิ ปริมาเณ, โณ.
  45. มาสปุพฺพ : (วิ.) ก่อนด้วยเดือน.
  46. มุหุตฺต : (ปุ.) กาลขณะหนึ่ง, กาลครู่หนึ่ง, เวลาขณะหนึ่ง, เวลาครู่หนึ่ง, ครู่ (ประเดี๋ยวเดียว), ครู่หนึ่ง. หุจฺฉฺ โกฏิเลฺยฺ, โต. มุอาคมต้นธาตุ ลบ จฺฉฺ แปลง ต เป็น ตฺต.
  47. ยตฺถ, ยตฺร : อ. ที่ไหน, ที่ใด; เวลาไหน, เมื่อไร
  48. ยถากาล : ป. เวลาที่เหมาะสม, กาลอันสมควร
  49. ยถากาล : ก. วิ. ในเวลาอันเหมาะสม, ตามกาล
  50. ยถาปุร : (นปุ.) เหมือนในกาลก่อน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-290

(0.0447 sec)