Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ก่อนเวลา, เวลา, ก่อน , then กอน, ก่อน, กอนวลา, ก่อนเวลา, เพลา, วลา, เวล, เวลา, เวฬา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ก่อนเวลา, 290 found, display 251-290
  1. อวิห : (ปุ.) อวิหะชื่อของรูปพรหมชั้นที่ ๑๒ชื่อของภพเป็นที่เกิดของอวิหพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่ละสถานที่ของตนโดยเวลาเล็กน้อย.วิอปฺปเกนกาเลนอตฺตโนฐานนวิชหนฺตีติอวิหา.พรหมผู้ไม่เสื่อมจากสม-บัติของตนวิ.อตฺตโนอตฺตโนสมฺปตฺติยานหายนฺตีติอวิหา.
  2. อสมย : ป. ไม่ใช่สมัย, ไม่ใช่เวลา
  3. อสสริตปุพฺพ : ค. ไม่เคยท่องเที่ยวไป, ไม่เคยบังเกิดมาก่อน
  4. อาคตปุพฺพ : (วิ.) มาแล้วในก่อน, มาแล้วในกาลก่อน, เคยมาแล้ว.
  5. อาคเมติ : ก. รอคอย, รอเวลา, รอต้อนรับ
  6. อาจมนปาทุกา : อิต. เขียงเท้าสำหรับใส่เมื่อเวลาล้างชำระ
  7. อาทยุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้สิ่งที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องปฐมสัตว์, ปฐมสัตย์วัตถุ.
  8. อายติ : (อิต.) อันไป, การไป, เวลาต่อไป, ความเป็นของยาว, ความเป็นของยืดยาว, เดชอันเกิดแต่อาชญา, เดชอันเกิดจากมีอำ-นาจลงอาชญา.อาปุพฺโพ, อิคติยํ, ติ.ส.อายติ.
  9. อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
  10. อารตฺต : นป. เวลา, กาล เช่น วสฺสารตฺต = ฤดูฝน
  11. อาลาป : (ปุ.) การกล่าวในเบื้องต้นในกาลที่ ไปและกาลเป็นที่มา. วิ. อาทิมฺหิ คมนกาล- อาคมนกาเล ลาโป อาลาโป. การทักก่อน ให้น่ารักเมื่อไปและมา, การทักก่อน, การพูดก่อน, การทักทาย. วิ. อาทิมฺหิ ลาโป อาลาโป. อาทิโก วา อาลาโป อาลาโป. อาปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, โณ. ส. อาลป.
  12. อาวุโส : (อัพ. นิบาต) แน่ะท่านผู้มีอายุ, แน่ะ ผู้มีอายุ, ดูกรท่านผู้มีอายุ, ดูก่อนท่านผู้มี อายุ, ท่านผู้มีอายุ, คุณ. เป็นคำสำหรับ นักบวชเรียกนักบวช ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า หรือสำหรับนักบวชพูดกับชาวบ้านก็ได้ แปลว่า จ๊ะ เจริญพร ขอเจริญพร. แปลว่า ขอรับ. ก็ได้. พูดกับผู้ชายแปลว่า พ่อ พูดกับผู้หญิง แปลว่า แม่. ส. อายุษมตฺ.
  13. อาสนฺนกมฺม : (นปุ.) กรรมที่ทำเมื่อใกล้จุติ, การระลึกถึงสิ่งที่ดีหรือไม่ดีในเวลาใกล้จุติ ชื่อว่า อาสันนกรรม อีกอย่างหนึ่ง การทำดี หรือการทำไม่ดีเวลาใกล้ตาย ชื่อว่า อาสันนกรรม วิ. อาสนฺเน อนุสฺสริตํ อาสนฺนํ, อาสนฺเน วา กตํ อาสนฺนํ. อาสนฺนํ กมฺมํ อาสนฺนกมฺมํ.
  14. อิตฺตรกาล : ป. เวลาอันสั้น
  15. อิติหา : อิต. คำสอนที่มีมาแต่อาจารย์สมัยก่อน, โบราณจารีต
  16. อุตฺตรกาล : (ปุ.) เวลาต่อไป, การต่อไป.
  17. อุตุก : ค. เหมาะแก่ฤดู, เหมาะแก่เวลา, ควรแก่กาล
  18. อุตุกาล : ป. กาลมีระดู, เวลามีประจำเดือน
  19. อุตุสปฺปาย : ป. ฤดูที่สบาย, เวลาที่สะดวกสบาย
  20. อุทณฺหสมย : ป. เวลารุ่งอรุณ
  21. อุปกม อุปกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปก่อน, ความหมั่น, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ศัพท์หลังซ้อน กฺ. ส. อุปกฺรม.
  22. อุปการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน. วิ. อุป อุปการํ กโรตีติ อุปการี. ณ ปัจ.
  23. อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
  24. อุสฺสุร อุสฺสูร : (ปุ.) กาลมีพระอาทิตย์ในเบื้อง บน, กาลสาย, เวลาสาย. วิ. อุปริ ภโว สุโร สูโร วา ยสฺมึ โส อุสฺสุโร อุสฺสูโร วา.
  25. อูส : (ปุ.) เกลือ, ที่มีเกลือ, ดินเค็ม, ที่ดินเค็ม, นาเกลือ, เวลาเช้า. อูสฺ ราชายํ, อ.
  26. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  27. เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
  28. อกฺข : (ปุ.) คะแนน, เกวียน, กลุ่ม, ดุม, เพลา, เพลารถ. วิ.อรนฺติ เอเตนาติ อกฺโข. อรฺ อกฺ วา คมเน, โข. ถ้าตั้ง อรฺ แปลง รฺ เป็นกฺ. ส. อกฺษ.
  29. อุรุเวล : (ปุ.) ประเทศชื่อ อุรุเวละ, อุรุเวล ประเทศ.
  30. การเวล, - เวลฺล : ป. ผักโหม, ผักไห่
  31. ปุปฺผาเวฬา : อิต. ดู ปุปฺผทาม
  32. อติเวล : (วิ.) ล่วงแล้วซึ่งเวลา.วิ.เวลํอติกฺกนฺโตอติเวลโล.กลับบทหน้าไว้หลัง.
  33. อาเวล อาเวฬ : (ปุ.) ดอกไม้กรองบนศีรษะ, ดอกไม้ประดับศีรษะ,พวงมาลัย. อาปุพฺโพ, อวฺ รกฺขเณ, เอโล.
  34. สนาภิก : ค. มีเพลาล้อ
  35. สุกร สูกร : (ปุ.) หมู, สุกร (สุกอน). วิ. สุนฺทรํ ผลํ กโรตีติ สุกโร สูกโร วา. อ ปัจ. ศัพท์หลัง ทีฆะ. ส. ศูกร, สูกร.
  36. อกฺก : (ปุ.) ดวงอาทิตย์, พระอาทิตย์, อจฺจียเตติ อกฺโก (อันเขาบูชา). อจฺจ ปูชายํ, โณ, จฺจสฺส กฺโก.มหาชุติตายอกฺกียติตปฺปสนฺเนหิชเนหีติอกฺโก.อกฺกฺถวเน, อ.ต้นขอนดอก, ต้นรัก, ไม้รักแดง, ลูกขลุบ, เพลารถ.วิ.ตปฺปริยายนามกตฺตาอรตีติอกฺโก.อรฺ คมเน. โก.รสฺส โก(แปลง รฺเป็น ก) ส.อรฺก.
  37. อณิ : (อิต.) ลิ่ม.สลัก (สิ่งที่สลักปลายเพลาไม่ให้ลูกล้อหลุด), ขอบ, ที่สุด.อณฺคติยํอิ. เป็นอณี อาณิ อาณี ก็มี. ส. อณิ. อาณิ.
  38. อปกฺขร : (ปุ.) เพลา, เพลารถ, เพลาเกวียน.
  39. อุปกฺขร : (ปุ.) เพลา, เพลารถ. วิ. อุปริ กรียเตติ อุปกฺขโร. อ ปัจ. แปลง กร เป็น ขร ซ้อน กฺ.
  40. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-290]

(0.0460 sec)