Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คน, 870 found, display 351-400
  1. ธุตฺต, - ตก : ป. นักเลง, นักเลงสกา, คนโกง, คนล่อลวง
  2. ธุตฺต ธุตฺตก : (ปุ.) คนล่อลวง, ธุพฺพิ หึสายํ, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  3. นคช : (ปุ.) ชนเกิดที่ภูเขา, คนชาวเขา, ชาว เขา, สัตว์เกิดที่ภูเขา, ช้าง.
  4. นคฺด : (ปุ.) คนเปลือย, คนแก้ผ้า, ชีเปลือย, ส. นคฺน.
  5. นครทฺวารปาลก : (ปุ.) คนผู้รักษาซึ่งประตู แห่งพระนคร, ยามรักษาประตูพระนคร.
  6. นครโสภินี : (อิต.) หญิงผู้ยังนครให้งาม วิ. นครํ โภเภตีติ นครโสภิณี. หญิงผู้งามในนคร วิ. นคเร โสภิณี นครโสภิณี. หญิง งามเมือง, หญิงคนชั่ว, หญิงแพศยา, หญิงนครโสภิณี, หญิงนครโสเภณี. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ เป็น นครโสภินี.
  7. นงฺคลี : ค. คนไถนา
  8. นจฺจก : (ปุ.) คนฟ้อน, คนรำ, ฯลฯ.
  9. นฎ นฎก นฏฏ นฏฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, ลิเก, ตัวลิเก, ตัวละคร. นฏฺ นตฺยํ. ศัพท์ที่ ๑, ๓ อ ปัจ. ศัพท์ ที่ ๒, ๔ ณฺวุ ปัจ. ศัพทืที่ ๓, ๔ แปลง ฏ เป็น ฏฺฏ. ส. นฎ, นรฺตก.
  10. นฏ, นฏก, นฏฺฏ, นฏฺฏก, นตฺตก : ค. คนฟ้อนรำ, นักเต้นรำ, ตัวละคร
  11. นตฺถิกทิฏฺธิ : (อิต.) ความเห็นว่าบุญและบาป ไม่มี วิ. นตฺถิกํ ปุญฺญปาปํ อิติ ทิฏฺฐ นตฺถิกทิฏฺฐ. นัตถิกทิฏฐิ เป็นมิจฉาทิฏฐิอย่างหนึ่ง มีความเห็นปฏิเสธความดีหรือความชั่วที่คนทำแล้วว่าไม่มีผลแก่ผู้ทำ.
  12. นทีกสฺสป : (ปุ.) นทีกัสสปะ นทีกัสสป ชื่อ ชฏิลคนกลางของชฏิลสามพี่น้อง ครั้งพุทธกาล.
  13. นนฺท : (ปุ.) ความสำเร็จ, ความเพลิดเพลิน, ความยินดี, ความรื่นรมย์, ความรื่นเริง, ความสนุก, นันทะ ชื่อคน, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ นนฺทเน วา, อ. ส. นนฺท.
  14. นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
  15. นร : (ปุ.) คน, บุคคล, มนุษย์, สัตวโลก, บุรุษ, ชาย, นระ, นรชน, นาย. วิ เนตีติ นโร. นิ นี นยเน, อโร. นรตีติ วา นโร. นร นยเน, อ. ที่เป็นพหุ. แปลว่าประชาชน. ส. นร, นฤ.
  16. นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
  17. นรปติ : ป. นฤบดี, ผู้เป็นใหญ่แห่งคน, พระเจ้าแผ่นดิน
  18. นรวร : (ปุ.) นรวร พระนามของพระพุทธเจ้า ทั้งปวง, คนประเสริฐ (หมายเอาเทวดา ทั้งปวงด้วย).
  19. นรวีร : ป. คนกล้า, พระพุทธเจ้า
  20. นราธม : ป. คนชั่ว, คนเลว
  21. นรี : (อิต.) คนผู้หญิง, ผู้หญิง, หญิง, นาง.
  22. นรุตฺตม : ป. ผู้ประเสริฐ, ผู้สูงสุด, ผู้ประเสริฐในหมู่คน
  23. นรุตฺตม นโรตฺตม : (ปุ.) คนผู้สูงสุดกว่านระ, คนผู้สูงสุดในนระ, พระเจ้าแผ่นดิน.
  24. นวกภูมิ : (อิต.) ชั้นต้น, ลำดับ, ฐานะต้น, ฯลฯ, นวกภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคน ชั้นต้น ในพุทธศาสนา หมายถึง นักธรรม ชั้นตรี ธรรมศึกษาชั้นตรี พระชั้นต้น คือ ตั้งแต่อุปสมบทถึงพรรษาครบ ๕ ใน พจนาฯ นับตั้งแต่อุปสมบทถึงครบพรรษา ๔.
  25. นาฏ นาฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, คนฟ้อน, คนฟ้อนรำ, ตัวละคร. ส. นาฏก.
  26. นานาชน : ป. ชนต่างๆ , คนหลายพวก
  27. นาร : (วิ.) เป็นของคน นร+ณ ปัจ. ส. นาร.
  28. นารี : (อิต.) หญิง, คนผู้หญิง, ผู้หญิง, นาง. วิ. นเรน โยคโต นรสฺสายํ นารี. อิทมตฺเถ โณ, อี. ส. นารี.
  29. นาวิถี : อิต. คนเรือผู้หญิง, หญิงผู้อยู่ในเรือ
  30. นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
  31. นิกฺกุชฺช : ค. คว่ำ, ไม่หงาย, โค่น, โยนทิ้ง
  32. นิกฺเกสสีส : (ปุ.) คนมีศรีษะมีผมออกแล้ว, คนหัวล้าน.
  33. นิกฺโกสชฺช : (ปุ.) คนมีความเกียจคร้านออก แล้ว, คนไม่เกียจคร้าน, คนหมั่น, คนขยัน. วิ. โกสชฺชํ ยสฺส นตฺถีติ นิกฺโกสชฺโช.
  34. นิกนฺตติ : ก. ตัด, โค่น
  35. นิคณฺฐ นิคฺคณฺฐ : (ปุ.) คนมีกิเลสพัวพัน วิ. จตูหิ คนฺเถหิ พนฺธนียตฺตา นิคณฺโฐ นิคฺคณฺโฐ วา. นิปุพฺโพ, คถิ พนฺธเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น นฺ เป็น คนฺถ แปลง นถฺ เป็น ณฺฐ. คนปราศจาก เครื่องผูกเครื่องร้อยรัด. นิคต+คณฺฐ. นิครนถ์ ชื่อนักบวชนอกพุทธศาสนา นักบวชของศาสนาเช่น.
  36. นิติกร : (ปุ.) คนผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกฎหมาย, คนผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิชา กฎหมาย.
  37. นิติปณฺฑิต : (ปุ.) คนมีความรู้ในกฎหมาย, นักปราชญ์ทางกฎหมาย, เนติบัณฑิต ใช้ เรียกผู้ที่สอบได้ปริญญาทางกฎหมาย.
  38. นิทฺทายิตุ : ค. คนนอนหลับ
  39. นิปฺเปสิก : (ปุ.) คนเล่นกล. นิปุพฺโพ, ปิสฺ เปสเน, ณิโก.
  40. นิพทฺธ นิวทฺธ : (วิ.) เนื่องมีระหว่างออกแล้ว, เนื่องมีระหว่างคั่นไม่มี, เนื่องไม่มีระหว่าง คั่น, เนื่องกัน, ติดต่อกัน, เนืองๆ, เนือง นิตย์, เสมอ, ประจำ.
  41. นิพฺยาปารฏฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งชีวิต หาการงานมิได้, ความตั้งอยู่แห่งบุคคลผู้ มีความขวนขวายออกแล้ว, ความดำรง ชีวิตอยู่ของคนเกียจคร้าน.
  42. นิมิตฺตปาฐก : ป. คนทำนายนิมิต, โหร
  43. นิยนฺตุ : (ปุ.) คนผู้นำยานออกไป, คนขับรถ. นิ+ยนฺต+อุ.
  44. นิรยาปถ : (ปุ.) คนถ่อย, คนเปลือย.
  45. นิรุตฺติปฏิสมฺภิทา : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.
  46. นิสคฺค : ๑. ป. คนเป็นกันเอง ; ๒. ค. ซึ่งให้, อันสละ
  47. นิหีนเสวี : ค. ผู้เสพของเลว, ผู้คบคนเลว
  48. นีวาป : ป. การหว่านโดยไม่มีเหลือ, การอุทิศให้คนตาย
  49. ปกฺข : ป. ข้าง, ส่วน, ฝ่าย, สีข้าง, ปีก, ปักษ์, คนขาเขยก, พรรค
  50. ปกฺขนฺที : ป. ผู้แล่นไป, คนขี้คุย, คนคุยโต
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-870

(0.0477 sec)