Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คน, 870 found, display 551-600
  1. มนุ : (ปุ.) พระมนู คือพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก, คนผู้เป็นคนแรกของคน, มนุษย์คนแรก, บุรพบุรุษของคน, ประชาบดี. วิ มนติ ชานาติ สตฺตานํ หิตาหิตนฺติ มนุ. มนฺ ญาเณ, อุ. อภิฯ รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. สัตว์โลก ก็แปล. ดู เวสสันฯ ข้อ๖๖๓.
  2. มนุเชส : (ปุ.) คนผู้เป็นจอมมนุษย์, พระราชา. มนุช+อีส.
  3. มนุสฺสเผคฺคุ : (ปุ.) มนุษย์กระพี้, คนกระพี้, คนที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม.
  4. มมฺมน : ค. คนติดอ่าง
  5. มลฺล มลฺลก : (ปุ.) คนปล้ำ, มวลปล้ำ, นักมวย. มถฺ วิโลฬเน, โล, ถสฺส ลาเทโส (แปลง ตฺ เป็น ลฺ). ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๖๔๒.
  6. มลฺลยุทฺธก : (ปุ.) คนปล้ำ, มวยปล้ำ.
  7. มส : (นปุ.) เนื้อ (เนื้อของคนและสัตว์ต่างๆ ), มังสะ, มางสะ. วิ. มญฺญเตติ มํสํ. มนฺ ญาเณ, โส, นสฺส นิคฺคหิตํ.
  8. มหสาย : (ปุ.) ความปรารถนาใหญ่, ฯลฯ, อัธยาสัยใหญ่, คนใจกว้าง.
  9. มหาชน : (ปุ.) คนหมู่ใหญ่, คนหมู่มาก, ชนหมู่ใหญ่, ชนหมู่มาก, คนที่เป็นพวกกัน, มหาชน, แปลว่าประชาชน ก็ได้.
  10. มหาชานุก : (ปุ.) คนมีเข่าใหญ่, คนเข่าโป้ง.
  11. มหาปณฺฑิต : (ปุ.) คนมีความรู้มาก, คนฉลาดมาก, คนมีปัญญามาก, มหาบัณฑิต เป็นคำเรียกผู้ที่สอบปริญญาโทของสถานต่างๆ ชั้นอุดม.
  12. มโหทร : (ปุ.) คนท้องใหญ่, คนลงพุง, อึ่งอ่าง, ปาด.
  13. มาปก : (ปุ.) คนผู้สร้าง, ช่างก่อสร้าง. มาปฺ มาปเน, ณฺวุ. คนผู้ตวง, คนผู้ชั่ง. มา ปริมาเณ, โป. ก สกัด.
  14. มายาการ : (ปุ.) คนผู้ทำมารยา, คนเจ้ามารยา, คนเจ้าเล่ห์, คนเล่นกล, คนผู้แสดงการขบขัน, คนเล่นตลก, คนตลก, จำอวด.
  15. มิคพฺพธ มิคพฺยธ : (ปุ.) คนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. มิคปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, อ. แปลง หน เป็น วธ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์หลัง ดู มิควฺยธ.
  16. มิควฺยธ : (ปุ.) คนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. วิ. มิเควิชฺตีติ มิควฺยโธ. วิธฺ เวธเน, อ. แปลง อิ เป็น ย.
  17. มิตฺต : (ปุ.) คนรักกัน, คนมีความเยื่อใยกัน, เพื่อน, มิตร. วิ. มิโนตี อนฺโตติ มิตฺโต. สพฺพคุเยฺหสุ มียตีติ วา มิตฺโต (ไว้วางใจในความลับ). มิ ปกฺขิปเน, โต, ทฺวิตฺตํ. มิชฺชตีติ วา มิตฺโต. มิทฺ สิเนหเน. มิทติ อตฺตนิ ปรนฺติ วา มิตฺโต (ผูกคนอื่นไว้ในตน). มิทฺ พนฺธเน. แปลง ทฺ เป็น ตฺ. ส. มิตฺร.
  18. มิตฺตทฺทุ : (ปุ.) คนประทุษร้ายมิตร. มิตฺตปุพฺโพ, ทุ ปริตาเป, อ. ซ้อน ทฺ.
  19. มิตฺตปฏิรูปก : (ปุ.) คนเทียมมิตร.
  20. มิลกฺข : ป. คนป่าเถื่อน
  21. มิลกฺขชาติ : อิต. คนป่าเถื่อน
  22. มิลกฺขชาติย : (ปุ.) คนป่า, ฯลฯ.
  23. มิลกฺขเทส : ป. ภูมิประเทศเป็นที่อยู่ของคนป่า
  24. มิลกฺขเทส มิลกฺขปเทส : (ปุ.) ประเทศของคนป่า, ปัจ จันตประเทศ, ประเทศปลายแดน.
  25. มิลกฺข มิลกฺขุ : (ปุ.) คนป่า, คนป่าเถื่อน, ชาวป่า, คนร้าย. มิลกฺข อพฺยตฺตสทฺเท, อ, อุ.
  26. มุขลฺโลกก : ค. ซึ่งมองดูหน้าคน
  27. มุฏฺฐสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันเผลอแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันลืมแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันหลงแล้ว, ความเป็นคนเผลอสติ, ฯลฯ. มุฏฺฐ+สติ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  28. มุณฺฑิย : (นปุ.) การเป็นคนโล้น, การปลงผม, การบวช.
  29. มุติมนฺตุ : ค. คนมีความรู้
  30. มุทฺทาปก : ป. คนพิมพ์, คนประทับตรา
  31. มุทฺทิก : (ปุ.) คนนับคะแนน, นักการบัญชี.
  32. มุทิกา : อิต. คนขับเสภา
  33. มุทุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนอ่อน, ความเป็นแห่งคนอ่อนโยน.
  34. มูค : (ปุ.) คนใบ้ วิ. วตฺตุ สกฺกุเณยฺยตฺตา มิคสทิโสติ มูโค. แปลง อิ ที่ มิค เป็น อู ฎีกาอภิฯ.
  35. มูควตฺต : (นปุ.) ความประพฤติใบ้, ความประพฤติเป็นคนใบ้, มูควัตร ชื่อวัตรของเดียรถีอย่างหนึ่ง คือ ประพฤติเป็นคนใบ้ไม่พูดจากัน.
  36. เมถุน : (นปุ.) ความประพฤติของคนคู่ คือ หญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, อัชฌาจารของคนคู่กัน, ความยินดีของคนคู่กัน, การร่วมสังวาส. วิ. มิถุนานํ อิตฺถีปุริสานํ สมานฉนฺทานํ อาจาโร เมถุนํ. ณ ปัจ.
  37. เมถุนธมฺม : (ปุ. นปุ) เรื่องความประพฤติของหญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, เรื่องของคนคู่กัน, ประเพณีของชาวบ้าน, เรื่องของชาวบ้าน, ธรรมของอสัตบุรุษ, เมถุนธรรม (เรื่องของคนเป็นคู่ๆ พึงประพฤติ). วิ. เมถุนํ เอว ธมฺโม เมถุนธมฺโม.
  38. เมธ : (ปุ.) ความกำจัด, ความกำจัดความชั่ว, คนมีปัญญา.
  39. เมธค : (ปุ.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  40. เมธคา : (อิต.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  41. เมธาวี : ค. คนมีปัญญา
  42. โมฆปุริส : ป. โมฆบุรุษ, บุรุษเปล่า, คนไร้ประโยชน์
  43. ยคฺเฆ : (อัพ. นิบาต) เป็นคำอาลปนะของคนที่ต่ำพูดกับคนที่สูงกว่า แปลว่า ขอเดชะ หรือ สรวมชีพ. และแปลว่า ได้ยินว่า, แล.
  44. ยติ : (ปุ.) ความเพียร, ความขยัน, คนขยัน, ยตฺ ปยตเน, อิ.
  45. ยถาวชฺช : (ปุ.) การเล่นเลียนคนพิการ, การเล่นเลียนคนขอทาน.
  46. ยมโลก : (ปุ.) โลกของพระยม, โลกของคนตาย, นรก.
  47. ยสสี ยสสฺสี : (ปุ.) คนมียศ.
  48. ยาจก : ป. ผู้ขอ, คนขอทาน; ผู้ขอร้อง
  49. ยาจก ยาจนก : (ปุ.) คนขอทาน วิ. ยาจตีติ ยาจโก. ณฺวุปัจ. ยาจนํ กโรตีติ ยาจนโก. กฺวิปัจ. ลบที่ธาตุ หรือ ยาจฺ ธาตุ ยุ ปัจ. ก สกัด อภิฯ.
  50. ยาชก : (ปุ.) พราหมณ์ผู้บูชายัญ, คนผู้บูชายัญ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-870

(0.0462 sec)