ฉมฺภิตตฺต : (นปุ.) ความหวาดหวั่น, ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ความครั่นคร้าม. ฉภิ อุตฺราเส, โต, ลงนิคคหิตและอิอาคม ได้ รูปเป็น ฉมฺภิต แล้วลง ตฺต ปัจ. ภาวตัท. สะกัด.
ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
สรท : (วิ.) ไม่แกล้วกล้า, ไม่กล้าหาญ, ไม่องอาจ, ไม่ว่องไว, ครั่นคร้าม. สุรปุพฺโพ, ทา เฉทเน, อ. แปลง อุ เป็น อ.
สรทกาล : (ปุ.) การเป็นที่สะครั่นสะครอ, สมัยเป็นที่ยินดีแห่งสุนัข.
อจฺฉมฺภี : (วิ.) ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่มีความครั่นคร้าม, ไม่สะดุ้ง, ฯลฯ. น+ฉมฺภีซ้อน จ.