Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชายา , then ชะยะ, ชาย, ชายา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชายา, 170 found, display 51-100
  1. กาฏ : ป. อวัยวะสืบพันธุ์ของชาย
  2. กิญฺชกฺข : (ปุ.) เกษร (ส่วนในของดอกไม้) วิ. กิสฺมึ (ในดอกไม้) ชายติ ชลตีติ วา กิญฺชกฺโข. กิปุพฺโพ ชนฺ ชนเน, ชลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, นสฺส ลสฺส วา กการตฺตํ, นิคฺคหิ ตาคโม.
  3. กุนฺถ : (ปุ.) กุนถะ ชื่อมดชนิดหนึ่ง, มด, มดดำ. เด็กชาย, กุถิ หึสายํ, อ.
  4. กุมารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, กุมาร. ก สกัด. เด็กน้อย, กุมารน้อย. ก ที่ลงในอรรถว่า น้อย. ที่เป็นพหุ: แปลว่า เด็กๆ.
  5. โกมารภจฺจ : ๑. นป. วิชาสำหรับรักษาโรคเด็ก, กุมารเวชวิทยา; ๒. ค. ผู้ที่เจ้าชายชุบเลี้ยง (หมายถึงหมอชีวกโกมารภัจ)
  6. โกลิต : (ปุ.) โกลิตะ ชื่อเดิมของพระโมคคัล- ลานะ วิ. กุเล ชายตีติ โกลิโก. โส เอว โกลิโต. อตฺตโน คุณํ กูลตีติ วา โกลิโต. กุลฺ ปตฺถรเณ, อิโต.
  7. คชฺช : (ปุ.) ภาวะเกิดที่ช้าง (คือความเมา) วิ. คเช ชายตีติ คชฺโช. มโท. ณฺย ปัจ.
  8. จีวรกณฺณ : นป. มุมจีวร, ชายจีวร
  9. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  10. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  11. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  12. ชนฺตุ : (ปุ.) สัตว์, สัตว์เกิด. วิ. ชายตีติ ชนฺตุ. ชนียเต กมฺมกิเลเสหีติ วา ชนฺตุ. ชายติ วา กมฺมกิเลเสหีติ ชนฺตุ. อรรถกถากุลาวก ชาดก ว่า ชนฺตูติ สตฺโต แปลว่า บุคคล คนดังคำในมหาฎีกามหาสุตตโสมชาดก ว่า ชนฺตูติ ปุคฺคโล.
  13. ชาติโกส : (นปุ.) ลูกจันทร์, ลูกจันทร์เทศ. วิ. โกสสหิตํ ชายติ ผล เมตสฺสาติ ชาติโกสํ.
  14. ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
  15. ชาร : (ปุ.) ชายที่รัก, ชายชู้. วิ. ชียนฺติ อเนนา ติ ชาโร. ชรฺ วโยหานิมฺหิ, โณ. อภิฯลง อ ปัจ. โมคฯ ขาทิกัณฑ์ ๔๔ วิ. ชีรยติ เอ- เตนาติ ชาโร. ฆณฺปัจ. ชาโร วุจฺจติ โจร – สามิโก. ส. ชาร.
  16. เชฏฺฐปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เจริญที่สุด, บุรุษผู้ เป็นพี่ใหญ่, เชฏฐบุรุษ ชายที่ได้รับยกย่อง ว่าเป็นพี่ใหญ่ด้วยได้ทำความดีให้แก่ ประเทศมาก.
  17. เชฏฺฐภาตุ, - ภาติก : ป. พี่ชายใหญ่
  18. ฌสา : (อิต.) แตงหนู (แตงลูกเล็กๆ ขึ้นตาม ชายทุ่ง), มะกอก ต้นไม้ชนิดหนึ่งมีหลาย ชนิด, ครอบโถหรือโลหะสัมฤทธิ์มีฝา ครอบสำหรับใช้ทำน้ำมนต์. ฌสฺ หึสายํ, อ.
  19. ญาติก : (ปุ.) คนผู้เป็นญาติ, ญาติชาย, พี่น้อง, ญาติ.
  20. ตณฺฑุเลยฺย : (ปุ.) กระเพรา, มะพลับ. วิ. ตมียติ วิการ มาปาทียตีติ ตณฺฑุโล. ตณฺฑุลโต ชายตีติ ตณฺฑุเลยฺโย. เณยฺย ปัจ. เป็น ตณฺฑุลิย บ้าง.
  21. ตาปิญฺช : (ปุ.) เต่าร้าง, หมาก, คูน. วิ. ตาปิยํ ชายตีติ ตาปิญฺโช. อญฺญตฺเถ โช , พินฺทฺวาคโม. ฏีกาอภิฯ เป็น ตาปิญฺฉ. อญฺญตฺเถ โฉ.
  22. เตภาติก : ค. มีพี่น้องชายสามคน
  23. ทยิตา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง (ชายพึงใจ).
  24. ทฺวิช : (ปุ.) พราหมณ์ ชื่อคนวรรณะที่ ๒ ในวรรณะ ๔ วิ. กุลาจารพฺราหฺมณวเสน ทฺวิกฺขตฺตํชาตตฺตตา ทฺวิโช. ฟัน (กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปาก) วิ. ทฺวีสุ ฐาเนสุ ทฺวิกฺขตฺตุ วา ชายเตติ ทฺวิโช. สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก. วิ. มาตุกุจฺฉิโต อณฺฑโต จาติ ทฺวิกฺขตฺตุชาตตฺตา ทฺวิโช. ส. ทฺวิช.
  25. ทสา : (อิต.) ชายผ้า, ชายครุย, ความเป็นอยู่, ความกำหนด, ระยะกาลของชีวิต. ทา เฉทเน, โส, รสฺโส, อิตฺถิยํ อา. ฉา เฉทเนวา, ฉสฺส โท. ส. ทศา.
  26. ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ; ๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
  27. ทสิกสุตฺต : นป. เส้นด้ายที่เหลือพันชายผ้า, ด้ายขอบผ้า
  28. ทารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, ทารก คือเด็กที่ ยังไม่เดียงสา เด็กแบเบาะ มติทาง ศาสนาว่าเด็กตั้งแต่คลอดถึง ๖ ขวบ. วิ. ทรติ กีฬวเสน ภูมี วิลิขตีติ ทารโก. ทรฺ วิทารเณ, ณวุ. ส. ทารก.
  29. ทาสิทาส : (ปุ.) ทาสหญิงและทาสชาย, ทาสี+ทาส รัสสะ ในท่ามกลาง กัจฯ ๓๒๒ รูปฯ ๓๔๔.
  30. ทีฆทส : ค. มีชายยาว
  31. เทวร : (ปุ.) พี่น้องชายของผัว, แปลว่า พี่ผัวหรือน้องผัวก็ได้แล้วแต่เนื้อความของที่นั้น ถ้าเป็น พหุ. แปลว่าพี่ผัวและน้องผัว. วิเทวนฺติ เอเตนาติ เทวโร. ทิวุ กีฬายํ. อโร. แปลง อิ เป็น เอ. ฎีกาอภิฯ สามิภาตา กนิฎโฐ สามิโน ภาตา เทวโร นาม.
  32. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  33. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  34. นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
  35. นปุสก : ป. นปุงสกลิงค์, ไม่ปรากฏเพศชายเพศหญิง, บัณเฑาะก์, กะเทย, ขันที
  36. นปุสกลิงฺค : (นปุ.) เพศบัณเฑาะก์, เพศ กะเทย, นปุงสกลิงค์ (ไม่ใช่เพศหญิงไม่ ใช่เพศชาย ไม่มีเพศ).
  37. นาคมาณวก : ป. นาคมาณพ, ชายหนุ่มนาค, นาคหนุ่ม
  38. นายิกา : (อิต.) หญิงผู้นำ, หญิงผู้เป็นหัวหน้า, นายิกา (หญิงผู้เป็นนายก). ประเทศที่มี หญิงเป็นนายก ไม่ได้ใช้คำนี้ ใช้คำนายก เช่นเดียวกันกับชาย.
  39. นาลิเกร นาฬิเกร : (ปุ.) มะพร้าว, กัจฯ และ รูปฯ ลง เณร ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง อิร ปัจ. และ ก ท้ายศัพท์ วิ. นาฬิ วิย ชายตีติ นาฬิเกโร. ส. นาริเกร, นาริเกล.
  40. นิช : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. โส เอว นิโช. แปลง ย เป็น ช สมีเป ชายตีติ วา นิโช. อภิฯ. ผู้เกิดแต่ตน (ลูก). รูปฯ ส. นิช.
  41. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  42. ปปุตฺต : (ปุ.) หลาน ( ลูกของลูกชายหรือลูก ของลูกสาว ) , หลานชาย. วิ. ปุตฺตสฺส ปุตฺโต ปปุตฺโต. ลบ ตฺต ของศัพท์หน้า และแปลง อุ เป็น อ.
  43. ปพฺพตกจฺฉ : ป. หลืบเขา, หุบเขา, ทุ่งหญ้าชายเขา
  44. ปุพฺพช : (ปุ.) บุคคลผู้เกิดก่อน, พี่. วิ. ปุพฺเพกาเล ชายตีติ ปุพฺพโช. ปุพฺพสทฺทุปทํ, ชนฺ ชนเน, กวิ.
  45. ปุม : (ปุ.) ชาย, คน, คนผู้ชาย, บุรุษ. วิ. ปุนาตีติ ปุมา. ปุ ปวเน, โม.
  46. ปุริสลิงฺค, ปริสสวฺยญฺชน : นป. เพศชาย
  47. ปุลฺลิงฺค : (นปุ.) เพศชาย, คำเพศชาย, ปุลลิงค์, ปุลลึงค์, ปุงลิงค์, ปุงลึงค์. วิ. ปุมสฺสลิงฺค์ ปุลฺลิงค์. แปลง ม เป็น ล. รูปฯ ๓๓๖ ลบ ม ซ้อน ลฺ.
  48. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  49. พฺราหฺมณกุมาร : ป. เด็กชายตระกูลพราหมณ์
  50. โพธิ : (ปุ.) โพธิ์ ไม้โพธิ์ ต้นโพธิ์ ชื่อต้นไม้ ซึ่งเจ้าชายสิทธัตถะเมื่อทรงผนวชเป็นพระมหาบุรุษแสวงหาโมกขธรรมได้เสด็จประทับบำเพ็ญเพียรแล้วได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สพฺพญฺญุตญฺ ญาณํ พุชฺฌติ เอตฺถาติ โพธิ. พุธฺ อวคมเน, อิ.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-170

(0.0398 sec)