Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดูแลรักษา, รักษา, ดูแล , then ดล, ดูแล, ดูแลรักษา, รักษา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดูแลรักษา, 211 found, display 101-150
  1. นิทหก : ค. ผู้เก็บ, ผู้รักษา (จีวร)
  2. นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
  3. นิรยป นิรยปาล : (ปุ.) นายนิรยบาล (ผู้ รักษาสัตว์นรก ผู้ปกครองสัตว์นรก). วิ. นิรยสตฺเต ปาติ ปาลติ วาติ นิรยโป นิรยปาโล วา. ปา รกฺขเณ, กฺวิ. ปาล รกฺขเณ, อ. ส. นิรยปาล.
  4. นิรยป, นิรยปาล : ป. นายนิรยบาล, ผู้เฝ้ารักษานรก
  5. นิวารณ : (นปุ.) การปิด, การปิดบัง, การเปิด บังให้พ้นภัย, การเกียดกัน, การป้องกัน, การป้องกันให้พ้นภัย, การพิทักษ์รักษา, ความปิด. ฯลฯ. นิปุพฺโพ, วรฺ อา วรเณ, ยุ. ส. นิวารณ การขัดขวาง, การต่อต้าน.
  6. ปฏิโกเปติ : ก. ทำให้สั่น, ทำให้หวั่นไหว, ทำให้กำเริบ, ทำให้เสีย, ทำลาย (การรักษาอุโบสถ)
  7. ปฏิชคฺคก : ค. ผู้ปฏิบัติ, ผู้บำรุง, ผู้ดูแล, ผู้เลี้ยงดู
  8. ปฏิชคฺคน : นป. การปฏิบัติ, การบำรุง, การดูแล, การเลี้ยงดู, การซ่อมแซม
  9. ปฏิชคฺคนก : ค. ผู้ปฏิบัติ, ผู้บำรุง, ผู้ดูแล, ผู้เลี้ยงดู
  10. ปฏิชคฺคาเปติ : ก. ให้ปฏิบัติ, ให้บำรุง, ให้ดูแล, ให้เลี้ยงดู
  11. ปฏิชคฺคิต : กิต. (อันเขา) ปฏิบัติแล้ว, บำรุงแล้ว, ดูแลแล้ว, เลี้ยงดูแล้ว
  12. ปฏิสณฺฐาติ : ก. ดำรงมั่น, รักษาไว้, คุ้มครอง, มีอยู่พร้อม
  13. ปนุนฺนาท : (ปุ.) ชุมเห็ด ( รักษาหิด ). ดู ปปุนฺนาฏ เทียบ.
  14. ปปุนฺนาฏ : (ปุ.) ชุมเห็ด ชื่อต้นไม้รักษาหิด วิ. ปกาเรน ททฺทุ ปุนาตีติ ปปุนฺนาโฏ. ปการปุพฺโพ, ปุ ปวเน, อโฏ, นิคฺคหิตา คโม, การโลโป. ลง นา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุและ อฏ ปัจ.
  15. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  16. ปริจารณา : อิต. ความดูแล, การตรวจตรารอบๆ , การบำเรอ
  17. ปริตฺตาณ : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
  18. ปริตฺตายก : ค. ผู้ป้องกัน, ผู้รักษาความปลอดภัย
  19. ปริปาเลติ : ก. รักษา, คุ้มครอง
  20. ปริรกฺขน : นป. การรักษา
  21. ปริรกฺขิต : กิต. รักษาแล้ว
  22. ปริเวสนา : อิต. การจัดอาหาร, การดูแลอาหารในขณะเลี้ยงกัน
  23. ปริหรณ : นป. การบริหาร, การคุ้มครอง, การรักษา
  24. ปริหาร : ป. การบริหาร, การคุ้มครอง, การป้องกัน, การดูแล
  25. ปริหารก : ค. ผู้บริหาร, ผู้คุ้มครอง, ผู้ดูแล
  26. ปริหาริก : ค. ผู้ปกครอง, ผู้ช่วยเหลือ, ผู้ดูแล
  27. ปวตฺเตตุ : ป. ผู้ทำให้เป็นไป, ผู้สืบต่อ, ผู้รักษา, ผู้ประคองไว้
  28. ปเวณิปาลก : ป. ผู้รักษาขนบประเพณี, ผู้รักษาวงศ์สกุล
  29. ปาณท : ค. ผู้ให้ชีวิต, ผู้รักษาชีวิต
  30. ปาริหาริย : ค. ซึ่งควรรักษา, ซึ่งบำรุง, ซึ่งเลี้ยง
  31. ปาล : นป. การปกครอง, การรักษา
  32. ปาล, - ก : ค., ปาลน นป. ผู้ปกครอง, ผู้รักษา
  33. ปาลิต : ค. อันเขาคุ้มครองรักษาแล้ว
  34. ปาเลติ : ก. เฝ้ารักษา, เลี้ยงดู, คุ้มครอง
  35. เปยฺยาล : (ปุ.) เนื้อความเพื่อความเป็นของอันบัณฑิตพึงรักษาไว้, เนื้อความควรเพื่ออันให้พิสดาร, เนื้อ ความควรเพื่ออันรักษาไว้, เปยยาล, ไปยาล. ในไวยากรณ์ใช้เป็นเครื่องหมายละคำ รูป“ฯ” นี้ เรียกว่า ไปยาลน้อย รูป “ฯลฯ” หรือ “ฯเปฯ” เรียกว่า ไปยาลใหญ่.
  36. โปราณวตฺถุสาลา : (อิต.) พิพิธภัณฑ์สถานชื่อสถานที่เก็บรักษาของเก่าต่างๆ.
  37. พาหิรรกฺขา : อิต. การป้องกัน, การรักษาโดยวิธีภายนอก
  38. พุทฺธรกฺขิต : ค. อันพระพุทธเจ้าคุ้มครอง, ซึ่งพระพุทธเจ้ารักษาแล้ว
  39. ภณฺฑาคาริก : (วิ.) ผู้ประกอบในเรือนคลัง, ผู้รักษาเรือนคลัง, ฯลฯ.
  40. ภตฺตกาล : (ปุ.) เวลาแห่งภัต, ภัตกาล คือ เวลาฉันอาหารของภิกษุ-สามเณร หรือ ผู้รักษาอุโบสถศีล.
  41. ภรติ : ก. เลี้ยงดู, รักษาไว้,แบกหาม
  42. ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
  43. ภิกฺขุนี : (อิต.) ภิกษุณี พระผู้หญิง ของพระพุทธ ศาสนา เป็นบริษัทที่ ๒ ในบริษัท ๔. ภิกฺขุ+อินี อิต. เป็นพระที่บวชจากสงฆ์ ๒ ฝ่าย คือจากภิกษุณีสงฆ์ และภิกษุสงฆ์รักษาสิกขาบท (ศีล) ๓๑๑ สิกขาบท.
  44. ภุป ภุภุช : (ปุ.) พระยา, พระเจ้าแผ่นดิน. ภู+ปา ธาตุ ภุชฺ ธาตุในความรักษา รัสสะ อู เป็น อุ.
  45. ภูปาล : ป. ผู้รักษาแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน
  46. มณฺฑป : (ปุ. นปุ.) โรงอันรักษาไว้ซึ่งรัศมีคือแสงแห่งพระอาทิตย์ วิ. มณฺฑา รวิรํส-โย ปาตีติ มณฺฑโป. โรงดื่มซึ่งรัศมีคือแสงแห่งพระอาทิตย์ คือยังแสงแห่งพระอาทิตย์ให้ฉิบหาย (บังแสง อาทิตย์ไว้). ปา ปาเน, อ. โรงอันชนย่อมประดับ วิ. มณฺฑิยติ ชเนหีติ มณฺฑ-โป. มณฺฑฺ ภูสเน, โป. ปะรำ, โรงปะรำ, มณฑป (เรือนยอดรูปสี่เหลี่ยม).
  47. ยูถเชฏฺฐ ยูถป : (ปุ.) ชนผู้เจริญที่สุดในหมู่, ชนผู้รักษาหมู่, หัวหน้า, จ่าฝูง.
  48. รกฺข : (ไตรลิงค์) การระวัง, การรักษา, การถนอม, การป้องกัน, การต่อต้าน, การต้านทาน, ความระวัง, ฯลฯ. รกฺข ปาลเน, อ.
  49. รกฺขก : ค. ผู้รักษา, ผู้เฝ้าดู
  50. รกฺขณ : นป. การรักษา
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-211

(0.0542 sec)