Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดูแลรักษา, รักษา, ดูแล , then ดล, ดูแล, ดูแลรักษา, รักษา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดูแลรักษา, 211 found, display 151-200
  1. รกฺขนสทิส : (วิ.) เช่นกับด้วยบุคคลผู้รักษา, ฯลฯ.
  2. รกฺขา : อิต. การรักษา, ความปลอดภัย, การคุ้มครอง
  3. รกฺขิตวนสณฺฑ : (ปุ.) ชัฎแห่งป่าอัน...รักษาแล้ว, ไพรสณฑ์อันนาคคือช้างรักษาแล้ว, ชัฏแห่งป่าชื่อรักขิตวัน.
  4. โรคหารี : ป. ผู้รักษาโรค, หมอ
  5. โลกปาล : ป. ผู้รักษาโลก
  6. วสานุปาลก : ค. ผู้รักษาตามซึ่งวงศ์
  7. วาจานุรกฺขี : ค. ผู้รักษาตามคำพูด
  8. สรกฺขนา : อิต. การคุ้มครอง, การรักษา
  9. สารกฺข : ค., ป. การรักษาอย่างดี, มีการรักษา
  10. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  11. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  12. สีลพฺพตปรามาส : (ปุ.) การถือมั่นศีลและพรต, การยึดมั่นศีลและพรต, การจับต้องศีลหรือพรต, สีลัพพตปรามาส คือ ความเชื่อถือความศักดิ์สิทธิ์ด้วยเข้าใจว่ามีได้ด้วยศีลหรือวัตรปฏิบัติ เป็นการรักษาหรือบำเพ็ญพรตด้วยความเชื่อเรืองบันดาลไม่เชื่อกรรม เชื่อความขลัง.
  13. สีลรกฺขิก : (วิ.) ผู้รักษาศีล วิ. สีลํ รกฺขติตี สีลรกฺขิโก.
  14. สุขาภิบาล : (ปุ.) การรักษาซึ่งความสุข, การระวังรักษาให้เกิดความสุข, สุขาภิบาล ชื่อส่วนหรือหน่วยงานที่ทำหน้าที่ระวังรักษาเพื่อความสุขปราศจากโรค.
  15. สุตุต สุตฺร : (นปุ.) พระพุทธวจนะ (ปาวจนา), พระสูตร ชื่อหมวด ๑ ในพระไตรปิฎก คำเต็มว่า พระสุตตันตะ. วิ.อตฺเถ อภสเวตีติ สุตฺตํ สุตรํ วา (หลั่งอรรถ). สุ อภิสเว, โต, ทวิตฺตํ, ตฺรณฺปจฺจโย วา. อตฺเถ สูเทตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ. สูทฺ ปคฺฆรเณ, รสโส, ทฺโลโป. อตฺถํ สุฏฐ ตายตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ (รักษาด้วยดีซึ่งอรรถรักษาอรรถไว้ดี). สุฏฐปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ฏฐโลโป. ศัพท์ต้นซ้อน ตฺ. สูตร ชื่อกฎของไวยากรณ์สำหรับใช้สร้างศัพท์ เช่น โยนํ โน การอาเทศเป็น โนแห่งโย ทฺ เป็นต้น.
  16. สุสานโคปก : ค. ผู้รักษาป่าช้า
  17. โสตเวชฺช : (ปุ.) หมอตรวจหู, หมอรักษาหู, โสตแพทย์.
  18. หตฺถิโคปก หตถิป หตฺถิบาล : (ปุ.) คนผู้รักษาช้าง, คนเลี้ยงช้าง, ควาญช้าง, นายควาญช้าง. คุปฺ รกฺขเณ, โณ, สตฺเถ โก. ปา ปาลฺ วา รกฺขเณ, โณ.
  19. อคมนียวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่พึงถึง, วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่ควรล่วงวัตถุไม่ควรถึง, วัตถุต้องห้าม, อคมนียวัตถุ ได้แก่หญิงหรือชายที่กฎหมายหรือศีลธรรมระบุไว้มิให้ชายหรือหญิงผู้รักษาศีลธรรมล่วงละเมิดทางประเวณี.
  20. องฺครกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ป้องกันองค์พระมหากษัตริย์, บุคคลผู้รักษาตัว (หมายถึงตัวของบุคคลอื่นที่ตนมีหน้าที่ไปรักษาป้องกัน).ส. องฺครกฺษ.
  21. อฏวีรกฺขิต : ป. ผู้รักษาป่า
  22. อตฺตคุตฺติ : อิต. การรักษาตน, การระวังตน
  23. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  24. อธิสีล : (นปุ.) คุณชาตอันอาศัยซึ่งศีลเป็นไป, คุณชาตอันเป็นไปอาศัยซึ่งศีล, (สีลสฺสอธิ-กิจฺจปวตฺตนํ)ศีลยิ่ง, ศีลอย่างสูงคือการรักษาอย่างประณีต.วิ.อธิกํสีลํอธิสีลํ.ส.อธิศีล.
  25. อนุปาล : (ปุ.) การตามเลี้ยง, การตามรักษา, การตามระวัง, การคอยรักษา, การคอยระวัง.เรียกโรงเรียนที่รับเด็กก่อนเข้าเกณฑ์ประถมศึกษาว่าโรงเรียนอนุบาล เรียกเด็กที่เรียนว่าเด็กอนุบาล (เด็กที่ครูต้องคอยระวัง).
  26. อนุปาลก : ๑. ป. ผู้คุ้มครอง, ผู้รักษา; ๒. ค. ซึ่งปกครอง, ซึ่งรักษา
  27. อนุปาเลติ : ก. รักษา, คุ้มครอง, ป้องกัน
  28. อนุรกฺขก : ค. ผู้รักษา, ผู้คุ้มครอง
  29. อนุรกฺขติ : ก. ตามรักษา, คุ้มครอง, ป้องกัน
  30. อนุรกฺขน : นป. การเก็บรักษา, การป้องกัน, การคุ้มครอง
  31. อนุรกฺขิย : ค. ควรรักษา, ควรคุ้มครอง, ควรป้องกัน
  32. อปวิณาติ : ก. ดูแล, เฝ้าดู, เอาใจใส่
  33. อภิปาล : (ปุ.) การรักษายิ่ง, การบำรุงรักษา, การปกครอง, อภิบาล.ส.อิบาล.
  34. อภิปาเลติ : ก. รักษา, คุ้มครอง
  35. อภิรกฺขติ : ก. รักษา, คุ้มครอง
  36. อรกฺขิตพฺพฏฺฐาน : (นปุ.) ฐานะอัน...ไม่พึงรักษา
  37. อวน : (นปุ.) การรักษา, ความรักษา. อวฺรกฺขเณยุ.
  38. อวนท : (ปุ.) คนผู้ให้การรักษา, หมอ, แพทย์.
  39. อสฺสโคปก : ป. คนเลี้ยงม้า, คนดูแลม้า, อัศวรักษ์
  40. อาปาทก : ๑. ป. ผู้ดูแลเด็ก, คนเลี้ยงเด็ก ; ๒. ค. ผลิตขึ้น, ก่อให้เกิดขึ้น, นำไปสู่
  41. อายุร : (วิ.) ผู้รักษาอายุ, ผู้รักษาชีวิต.อายุปุพฺโพรกขฺปาลเน, กฺวิ, กฺขฺโลโป.
  42. อายุรเวชฺช : (ปุ.) หมอผู้รักษาชีวิตวิ.อายุโรเวชฺโชอายุรเวชฺโช.หมอผู้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ชีวิตวิ.อายุสฺโสเวชฺโชอายุร-เวชฺโช.ลบสฺสังโยคแปลงสเป็นรตามวิธีของสันสกฤต, อายุรแพทย์(หมอผู้รักษาชีวิตของคนไข้ด้วยการใช้ยา ). ส. อายุ-รไวทฺย.
  43. อายุเวท : ป. อายุรเวท, วิชาเกี่ยวกับการรักษาโรค
  44. อารกฺขา : อิต. อารักขา, การรักษา, การคุ้มครองป้องกัน
  45. อาวาร : ป. การป้องกันรักษา, การคุ้มครอง
  46. อาวุก : (วิ.) ผู้มีปกติรักษา. วิ. อวนสีโล อาวุโก. อวฺ รกฺขเณ, ณุโก.
  47. อินฺทุริยสวร : ป. อินทรีย์สังวร, การระวังรักษาอินทรีย์
  48. อุทฺทาน : (นปุ.) เครื่องผูก, เครื่องจองจำ, พวง, มัด, คำเป็นที่รวบรวมไว้ คือรักษาไว้มิให้กระจัดกระจาย. อุปุพฺโพ, ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. เท รกฺขเณ วา, ยุ.
  49. อุปทสฺสก : ป. คนนำทาง, คนชี้แจง, คนรักษาประตู
  50. อุปเทห : ป. น้ำมันทารักษาโรค
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-211

(0.0422 sec)