Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: บุคคล , then บุคคล, ปุคคล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : บุคคล, 390 found, display 201-250
  1. พาหุสจฺจ พาหุสฺสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้สดับมาก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสุตะมาก, ความเป็นแห่งพหุสุตบุคคล, ความเป็นพหุสุต, ความเป็นพหูสูต. วิ. พหุสุตสฺส พหุสฺสุตสฺส วา ภาโว พาหุสจฺจํ พาหุสฺสจฺจํ วา, พหุสุต, พหุสฺสุต+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  2. พิลาล พิฬาล : (นปุ.) เกลือที่บุคคลยังดินในที่ใกล้ทะเลให้สุกทำขึ้น, เกลือสะตุ. เกลือสินเธาว์ ก็ว่า.
  3. โพธิสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, มนุษย์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, บุคคลผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ, พระโพธิสัตว์ คือ สัตว์ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ได้แก่ ท่านผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า.
  4. ภคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งส่วน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วน. ภาค+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ หรือ ภค+ณฺย.
  5. ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  6. ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
  7. ภทนฺตุ : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, ท่านผู้เจริญ.
  8. ภวนฺตุ : (ปุ.) ปูชารหบุคคล, พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระพุทธเจ้า (ชิน).
  9. ภาริย : (วิ.) ผู้อันบุคคลพึงเลี้ยง. ภรฺ โปสิน, โณฺย, อิ คาคโม.
  10. ภิ : (นปุ.) ธรรมชาตอันบุคคลพึงกลัว, ภัย.
  11. ภุตฺตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกินในเวลาเช้าอันบริโภคแล้ว.
  12. เภทปุเรกฺขารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ทำซึ่งการแตกกันในเบื้องหน้า.
  13. เภสชฺชกร : (ปุ.) บุคคลผู้ปรุงยา, แพทย์ผู้ปรุงยา, เภสัชกร.
  14. มคฺคเทสิก : (ปุ.) บุคคลผู้เดินทาง, คนเดินทาง.
  15. มจฺฉพนฺธ : (ปุ.) บุคคลผู้จับซึ่งปลา, ชาวประมง. วิ. มจฺเฉ พนฺธติ ชาเลนาติ มจฺฉพ-นฺโธ. มจฺฉปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ. คนผู้ฆ่าปลา, ชาวประมง, พรานปลา. วิ. มจฺเฉ วธตีติ มจฺฉพนฺโธ. หนฺ หึสายํ. ลง นิคคหิตอาคม แปลง หน เป็น วธ แปลง นิคคหิต เป็น นฺ ว เป็น พ.
  16. มชฺฌตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, อุเบกขา.
  17. มญฺญตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งตนเป็นผู้ถือตัวแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือตัว, ความเป็นผู้ถือตัว. มญฺญ-ต+ตฺต ปัจ.
  18. มตกภตฺต : (นปุ.) ภัตอันบุคคลพึงให้เพื่อบุคคลผู้ตายแล้ว, ภัตอันบุคคลถวายเพื่อบุคคลผู้ตายแล้ว, ภัตอันบุคคลถวายเพื่ออุทิศผลแด่บุคคลผู้ตาย, ภัตเพื่อผู้ตาย, มตกภัต (อาหารที่ทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย).
  19. มตฺตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งประมาณ, ความเป็นผู้รู้ประมาณ, ความเป็นผู้รู้จักประมาณ, ความเป็นคนรู้จักประมาณ, ความเป็นคนผู้รู้จักพอดี, ความรู้จักประมาณ.
  20. มตฺเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่มารดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่มารดา.
  21. มธุก : (ปุ.) คนผู้ชมมรรคาแห่งสวรรค์, บุคคลผู้แต่งพงศาวดาร. มคฺคํ ถวตีติ มธุโก. มคฺคปุพฺโพ, ถุ ถติยํ, ณฺวุ. คฺคโลโป, ถสฺส โธ.
  22. มธุโภชน : (นปุ.) โภชนะอันบุคคลพึงใจ, โภชนะอันอร่อย.
  23. มนุสฺสโทภาคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วนชั่วในความเป็นมนุษย์. ณฺย ปัจ.
  24. มโนทุจฺจริต : (นปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติชั่วแล้วด้วยใจ, การประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วทางใจ.
  25. มโนสสุจริต : (ปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติดีแล้วด้วยใจ, ฯลฯ. ดู มโนทุจฺจริต เทียบ.
  26. มหคฺฆส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกินมีค่ามาก.
  27. มหานส : (นปุ.) โรงมีวัตถุอันบุคคลพึงกินมาก, สถานที่หุง, โรงครัว, เรือนครัว, ครัว. วิ. มหนฺตานิ พหูนิ อสิตพฺพานิ ภวนฺติ เอตฺถาติ มหานสํ. มหนฺตปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อน แล้ว แปร น ไว้หน้า ส. และแปลง มหนฺต เป็น มหา.
  28. มหานิพฺพาน : (นปุ.) พระนิพพานเป็นธรรมอันบุคคลพึงเจริญ, พระนิพพานเป็นธรรมอันบุคคลพึงบูชา, มหานฤพาน.
  29. มหาปธาน : (ปุ. นปุ.) ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้ใหญ่.
  30. มาย : (ปุ.) บุคคลผู้นับ, การนับ. มา ปริมาเณ, โณ. แปลง อา เป็น อาย.
  31. มิตภาณี : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งคำพอประมาณ, ผู้มักกล่าวซึ่งคำพอประมาณ, ผู้มักว่าขานซึ่งคำพอประมาณ, ผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลนับแล้วโดยปกติ, ฯลฯ, ผู้พูดพอควร, ผู้พูดพอประมาณ.
  32. มุขฺยา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นประธาน, ความเป็นหัวหน้า, ความเป็นประธาน. ณฺย ปัจ.
  33. มุฏฺฐสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันเผลอแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันลืมแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันหลงแล้ว, ความเป็นคนเผลอสติ, ฯลฯ. มุฏฺฐ+สติ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  34. มูลนิธิ : (ไตรลิงค์) ทรัพย์อันบุคคลเก็บไว้เป็นต้นทุน, มูลนิธิ ชื่อทรัพย์สินอันตั้งไว้เป็นทุนเก็บแต่ดอกผลมาใช้ในการกุศลหรือประโยชน์สาธารณะ ต้องจดทะเบียนตามกฏหมาย.
  35. โมนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้, ฯลฯ. โมน+ภาว. ความเป็นแห่งมุนี, ความเป็นมุนี. มุนี+ภาว. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง อี เป็น อ.
  36. โยคาวจร : (ปุ.) บุคคลผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ภิกษุผู้หยั่งลงสู่ความเพียร คือท่านผู้เรียนสมถวิปัสนา และปฏิบัติสมถะหรือวิปัสสนา.
  37. รกฺขนสทิส : (วิ.) เช่นกับด้วยบุคคลผู้รักษา, ฯลฯ.
  38. รงฺคชีว รงฺคาชีว : (ปุ.) บุคคลผู้เลี้ยงชีพด้วยสี, ช่างเขียน.
  39. รชฺชทายาท : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นทายาทแห่งราชสมบัติ, รัชทายาท (ผู้สืบราชสมบัติ).
  40. รฏฺฐปาล : (ปุ.) บุคคลผู้ปกครองบ้านเมือง, คณะบุคคลผู้ปกครองบ้านเมือง, รัฐบาล (องค์การปกครองบ้านเมือง องค์การบริหารบ้านเมือง).
  41. รฏฺฐปุริส : (ปุ.) รัฐบุรุษ ชื่อบุคคลผู้ได้รับการยกย่องจากรัฐ เพราะเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถและมีคุณธรรมในการบริหารบ้านเมืองเป็นอย่างสูง.
  42. รฏฺฐมนฺตี : (ปุ.) คนมีความคิดของบ้านเมือง, คนมีความรู้ของบ้านเมือง, รัฐมนตรี ชื่อบุคคลผู้รับ ผิดชอบในนโยบายบริหารราชการแผ่นดิน และเป็นที่ปรึกษาการบ้านเมือง ผู้เป็นหัวหน้าเป็นใหญ่ในกระทรวง.
  43. รฏฺฐาธิป : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งแว่นแค้วน, บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งบ้านเมือง, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
  44. รตฺตญฺญู : (ปุ.) บุคคลผู้รู้ราตรีนาน, บุคคลผู้รู้กาลนาน, บุคคลผู้มีประสบการณ์มาก, รัตตัญญูบุคคล (ผู้มีอายุมาก ผู้จำกิจการต่างๆ ได้มาก).
  45. สนฺทิฏฐก : (วิ.) อันบุคคลผู้ปฏิบัติพึงเห็นเอง, อันผู้ได้บรรลุจะพึงเห็นเอง, ณิก ปัจ.
  46. สพฺรหฺมจารี : (ปุ.) บุคคลผู้มีปกติประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐเสมอกัน.
  47. สมงฺค : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ, บุคคลผู้พร้อมเพรียง, ฯลฯ.
  48. สมฺปชญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ทั่วพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้รอบคอบ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ตัวอยู่เสมอ. วิ. สมฺปชนสฺส ภาโว สมฺปชญฺญํ ณฺย ปัจ.ภาวตัท. ความรู้ทั่วพร้อม, ความรู้รอบคอบ, ความรอบคอบ, ความรู้สึกตัว, ความรู้ตัว, ความรู้ตัวอยู่เสมอ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  49. สมฺปท : (นปุ.) คำเป็นเครื่องยังบุคคลให้ถึงพร้อม, คำเชิญ. ส. สมฺปท.
  50. สมฺปวงฺก : (ปุ.) บุคคลผู้ยังตนให้เงื้อมไป, บุคคลผู้คล้อยตาม, เพื่อน. สํ ปปุพฺโพ, วกิ คติยํ, อ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-390

(0.0466 sec)