Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: บุคคล , then บุคคล, ปุคคล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : บุคคล, 390 found, display 51-100
  1. ขลฺลาฏสีส : (นปุ.) ศรีษะแห่งบุคคลผู้เป็นไป ด้วยความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่ง ศรีษะเปล่า, ศรีษะของคนหัวล้าน.
  2. ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
  3. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
  4. ขุรคฺค : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกรรมอัน บุคคลพึงทำด้วยมีดโกน (ปลงผมเสร็จ), ขณะโกนผมเสร็จ, ขณะปลงผมเสร็จ. วิ. ขุเรน กตฺตพฺพกมฺมสฺส อคฺโค ขุรคฺโค.
  5. คนฺธปญฺจงฺคุลิก : นป. เครื่องหมายนิ้วมือทั้งห้าที่บุคคลเจิมแล้วด้วยวัตถุมีกลิ่นหอม
  6. คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
  7. คมิกภตฺต : (นปุ.) ภัตเพื่อบุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อ ประโยชน์แก่บุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อบุคคล ผู้เดินทาง, ภัตเพื่อประโยชน์แก่บุคคลผู้จร มา.
  8. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  9. คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
  10. คีต : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การร้องเพลง, การเล่นขับร้อง, การเล่นร้อง เพลง. วิ. คายนํ คีตํ. เค สทฺเท, โต, เอ การสฺส อีกาโร. รูปฯ ๖๐๗ แปลง เค เป็น คี. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  11. คีติ : (อิต.) การขับ ฯลฯ วิ. คายนํ คีติ. เค สทฺเท, ติ. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  12. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  13. โคตฺรภู : ค. บุคคลซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างปุถุชนกับพระอริยเจ้า
  14. ฆนกรกวสฺส : (นปุ.) ฝนอันบุคคลพึงถือเอา ด้วยมือโดยความเป็นก้อน, ฝนอันทำซึ่ง ความเป็นแท่ง, ฝนลูกเห็บ.
  15. ฆาสจฺฉาทนาทิ : (วิ.) มีข้าวอันบุคคลพึงกินและ ผ้าเป็นเครื่องปกปิดเป็นต้น.
  16. จตุจตฺตาฬีสโกฏิวิภว : (วิ.) ผู้มีโภคะอันบุคคล พึงเสวยมีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ เป็น ฉ. ตุล. มี อ. ทิคุ. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  17. จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  18. จิกิจฺฉก : (ปุ.) บุคคลผู้เยียวยา, บุคคลผู้รักษา โรค, คนพยาบาล, หมอ, แพทย์ นาย แพทย์. กิตฺ โรคาปนยเน. ฉ ปัจ และ ณฺวุ ปัจ. เทว๎ภาวะ กิ แปลง กิ เป็น จิ แปลง ตฺ เป็น จฺ
  19. เฉกตา : อิต. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาด, ความฉลาดเฉียบแหลม
  20. ชงฺฆ : (ปุ.) ทางอันบุคคลดำเนินไปด้วยแข้ง, ทางเท้า. ส. ชงฺฆา.
  21. ชยปาน : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงดื่มในการเป็น ที่ชนะข้าศึก, น้ำดื่มของทหารผู้ชนะ สงคราม, ชัยบาน.
  22. ชยเภริ : (อิต.) กลองอันบุคคลพึงตีในคราวมี ชัย.
  23. ชาตเวท : (ปุ.) ไฟมีเปลวอันเกิดแล้วอันบุคคล พึงรู้, ไฟเครื่องประสมซึ่งเปลว, ไฟ, เปลว ไฟ. วิ. ชาเต อุปฺปนฺเน วินฺทติฌาปยตีติ ชาตเวโท. อนฺธกาเร ชาตํ วิชฺชมานํ วินฺทติ ลภติ ชานาติ วา เอเตนาติ วา ชาตเวโท. ชนนํ ชาตํ เวโท ปากโฏ ยสฺส วา โส ชาตเวโท.
  24. เชฏฺฐาปจายิกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของบุคคลผู้ยำเกรงแก่บุคคลผู้เจริญที่สุด, การทำของบุคคลผู้ประพฤติอ่อนน้อมแด่ผู้ ใหญ่.
  25. ญาณผุสนา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูก ต้องคือญาณ, ความถูกต้องคือญาณ,ความถูกต้องด้วยญาณ.
  26. ญาตปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึง กำหนดรู้อันตนรู้แล้ว, การกำหนดรู้ด้วย ความรู้.
  27. ฐปิตมณิรตน : (นปุ.) แก้วคือแก้วมณีอันบุคคล ตั้งไว้.
  28. ตณฺหามานทิฏฺฐิอิญฺชิต : (วิ.) (กิเลสชาต กิเลส ชาติ) อันบุคคลให้หวั่นไหวคือตัณหาและ มานะ และทิฏฐิ.
  29. ตมฺพปณฺณิทีป : (ปุ.) ทวีปแห่งบุคคลผู้มีฝ่ามือ แดง. ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา.
  30. ตริตตฺต : นป. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ข้ามหรือผ่านแล้ว, การข้ามพ้นแล้ว
  31. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  32. ติกปาจิตฺติย : (นปุ. อิต.) ติกปาจิตตีย์ คือ ปาจิตตีย์ ๓ ตัว ในสิกขาบทเดียวกัน คือ ขอจีวรจากบุคคลมิใช่ญาติ ๑ บุคคลนั้น มิได้ปวารณาไว้ ๑ ขอในสมัยที่มิได้ ทรงอนุญาตไว้ ๑ ดูสิกขาบทที่ ๖ แห่ง จีวรวรรค.
  33. ตุฏฺฐภาวมงฺกุภาววส : (ปุ.) ความสามารถ แห่งความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีและความเป็นแห่งบุคคลผู้เก้อ, สามารถแห่งความเป็นผู้ยินดีและความเป็นผู้เก้อ.
  34. ตุณฺหีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความนิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ความเป็น ผู้นิ่ง. วิ. ตุณฺหิสฺส ภาโว ตุณฺหีภาโว. ตุณฺหี ภวนํ วา ตุณฺหีภาโว. ไทยใช้ ดุษณีภาพ หมายถึง อาการนิ่งที่แสดงอาการยอมรับ.
  35. ตุมฺห : (ปุ. อิต.) เจ้า, ท่าน, สู, เอง, มึง, พระ คุณเจ้า, พระคุณท่าน, มหาบพิตร, มหา- บพิตรพระราชสมภารเจ้า, ฯลฯ. ลูกพูดกับ พ่อแม่ แปลว่า พ่อ, แม่, คุณพ่อ, คุณแม่. ยังมีคำแปลอีกมากใช้ยักย้ายให้เหมาะสม กับฐานะของบุคคล ตุมฺหศัพท์เป็นบุรุษที่ ผู้พูดพูดกับคนใด ใช้สำหรับคนนั้น แจกรูปเหมือนกันทั้งสองลิงค์.
  36. ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
  37. ตุลาการ : (ปุ.) ตุลาการ ชื่อบุคคลผู้ทำหน้าที่ตัดสินคดี, ชนผู้สร้างความเป็นธรรมแก่สังคม.
  38. ตุลิกา : (อิต.) นุ่น, ฟูกอันบุคคลยัดแล้วด้วย นุ่น, ฟูกยัดนุ่น.
  39. ถานนฺตร : (นปุ.) ลำดับแห่งตำแหน่ง, ที่อัน พิเศษ, ถานันดร ( ลำดับชั้นบุคคล ลำดับ แห่งยศ บรรดาศักดิ์ หน้าที่ การงาน).
  40. ถุติปาฐก : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวชมคุณ, บุคคลผู้ หมายเหตุความชอบของบุคคล, เจ้าหน้าที่ ผู้หมายเหตุความชอบของบุคคล.
  41. ถูป : ป. สถูป, อนุสาวรีย์บรรจุอัฐิของบุคคลสำคัญ, เจดีย์, ยอด
  42. ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
  43. ทกฺขิเณยฺยเขตฺต : นป. เนื้อนาบุญอันควรซึ่งทักษิณา, บุคคลผู้เป็นดุจเนี้อนาที่ควรนำไทยธรรมมาถวาย
  44. ทกฺขิเณยฺย ทกฺขิเณยฺยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้ ควรเผื่ออันรับซึ่งทักษิณา , บุคคลผู้ควร ซึ่งทักษิณา, บุคคลผู้ควรแก่ทักษิณา, ทักขิเณยยบุคคล, พระทักขิเณยยบุคคล, พระทักขิไณยบุคคล.
  45. ทกฺขิเณยฺยปุคฺคล : ป. ทักขิไณยบุคคล, บุคคลผู้ควรซึ่งทักษิณา
  46. ทกฺขิเณยฺยสมฺปตฺติ : อิต. ทักขิไณยสมบัติ, ความถึงพร้อมด้วยบุคคลผู้ควรซึ่งทักษิณา
  47. ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
  48. ทฏฺฐุ : ป. บุคคลผู้เห็น
  49. ทณฺฑหตฺถโคปาลสทิส : (วิ.) เช่นกับด้วย บุคคลผู้เลี้ยงโคผู้มีท่อนไม้อยู่ในมือ.
  50. ทท : (ปุ.) การให้, บุคคลผู้ให้. ทา ทาเน, อ. เท๎วภาวะ ทา รัสสะ อา ทั้งสอง หรือตั้ง ทท.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-390

(0.0309 sec)