Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปัด , then บัด, ปด, ปตฺ, ปัด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปัด, 100 found, display 51-100
  1. อชินปตฺตา : (อิต.) ค้างดาว.วิ.อชินํจมฺมํปตฺตํ ยสฺสา สา อชินปตฺตาเป็นอชินปตฺติกา บ้าง. ส. อชินปตฺตรา อชินปตฺตรีอชินปตฺตริกา.
  2. อุปตฺติ อุปฺปตฺติ : (อิต.) การเกิด, การเกิดขึ้น, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ, เหตุ, เหตุเครื่องบังเกิด, กำเนิด, การลง อุ. วิภตฺตุปฺปตฺติ การลงวิภัติ. อุปุพฺ โพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วิ. อุปฺปชฺชนํ อุปตฺติ อุปฺปตฺติ วา. คำหลังซ้อน ป. ไทยใช้อุบัติ เป็นกิริยา ในความว่า เกิด เกิดขึ้น ใช้เป็น นามว่า การเกิดขึ้น. กำเนิด เหตุ รากเหง้า. ส. อุตฺปตฺติ.
  3. อุปปตฺติ : (อิต.) การเข้าถึง, ความเข้าถึง, อุปบัติ. อุปปุพฺโพ, ปทฺ, คติยํ, ติ. ดู อุปฺปตฺติ ด้วย.
  4. ธมฺมานุธมฺมาปฏิปตฺติ : (อิต.) การปฏิบัติซึ่ง ธรรมอันสมควรแก่ธรรม, การปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม, ธัมมานุธัมมปฏิบัติ คือการประพฤติความดีตามสมควรแก่ ฐานะและภาวะของตน.
  5. นิพฺพานปตฺติ : อิต. การบรรลุพระนิพพาน
  6. นิโรธสมาปตฺติ : (อิต.) การเข้าสู่นิโรธ (เป็น วิธีพักผ่อนของท่านผู้ได้ฌาน.) นิโรธ ในคำนี้ได้แก่การดับสัญญาและเวทนา.
  7. ปฏิปตฺติ : อิต. การปฏิบัติ, ข้อปฏิบัติ, ความประพฤติ
  8. ผลสมาปตฺติ : (อิต.) สมาบัติอันประกอบพร้อมแล้วด้วยผล.
  9. วิปฺปฏิปตฺติ : อิต. การปฏิบัติผิด
  10. สมฺมาปฏิปตฺติ : (อิต.) การปฏิบัติดี, การปฏิบัติชอบ, การปฏิบัติโดยชอบ, ความปฏิบัติดี, ฯลฯ.
  11. สมาปตฺติ : (อิต.) การถึงทั่วพร้อม, การบรรลุ, การถึง, การเข้า, สมาบัติ(การบรรลุฌาน การเข้าฌาน). สํ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ.
  12. อนุปตฺติ : อิต. การเข้าถึง, การบรรลุ
  13. อภิปตฺติก : ค. ผู้บรรลุ, ผู้ได้ประสพ
  14. อาจารวิปตฺติ : (อิต.) อันเคลื่อนคลาดโดยความประพฤติ, อาจารวิบัติ, (เสียมารยาททางความประพฤติ, ความประพฤติเสีย).
  15. อุปตฺติเหตุ อุปฺปตฺติเหตุ : (ปุ.) เหตุแห่งการบังเกิด, ฯลฯ. อุบัติเหตุ ไทยใช้ในความหมายว่า เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด.
  16. อุปฺปตฺติ : อิต. การอุบัติขึ้น, การเกิดขึ้น
  17. อุปปตฺติก : ค. ผู้เกิด, ผู้กลับมาเกิด
  18. อุปปตฺติเทว : ป. เทวดาโดยกำเนิด
  19. นิปตน : (นปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก, การหล่น, การล้ม, การตกไป, ฯลฯ, ความตก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, ยุ.
  20. นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
  21. สนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุม, การประชุมกัน, ที่ประชุม, สันนิบาต. คำ สันนิบาต ไทยใช้เป็นชื่อของไข้ชนิดหนึ่ง มีอาการสั่นเทิ้มและเพ้อ. สํ นิ ปุพฺโพ, ปตฺ คติยํ, โณ. ส. สนฺนิปาต.
  22. สมฺปาต : (ปุ.) ฝนตกหนัก, ห่าฝน. วิ. สํ อโธ ปตตีติ สมฺปาโต. สํปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ.
  23. สีหปฺปปาต : (ปุ.) สีหัปปปาตะ ชื่อสระใหญ่ สระ ๑ ใน ๗ สระ วิ. สีหา ปปตนฺติ อสฺมินฺติ สีหปฺปปาโต. สีห ป ปุพฺโพ, ปตฺ ปตเณ, โณ.
  24. อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
  25. ปตฺต : (นปุ.) การตก, การตกไป. ปตฺ ปตเน, โต.
  26. อุปฺปตน : (นปุ.) การขึ้น, การเกิดขึ้น, การอุบัติ, ความขึ้น, ฯลฯ. อุปุพโพ. ปตฺ คติยํ, ยุ. ซ้อน ปฺ.
  27. กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
  28. กุหก : (ปุ.) คนผู้ยังคนให้พิศวง, คนที่ทำคนให้ พิศวง, คนผู้ยังโลกให่พิศวง, คนหลอกลวง, คนโกหก. ก สกัด. โกหกไทยใช้เป็นกิริยาว่า พูดปด พูดเท็จ. สฺ. กุหก.
  29. ขุทฺทปาทป : (ปุ.) กอไม้ วิ. ขุทฺโท อวุทฺธิป- ปตฺโต ปาทโป ขุทฺทปาทโป.
  30. ตุจฺฉปตฺตหตฺถ : (วิ.) ผู้มีบาตรเปล่าในมือ วิ. ตุจฺโฉ ปตฺโต ตุจฺฉปตฺโต.ตุจฺฉปตฺโตหตฺเถสุ ยสฺส โส ตุจฺฉปตฺตหตฺโถ.
  31. ทุกฺขปปตฺต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งทุกข์ วิ. ทุกฺขํ ปตฺโต ทุกฺขปฺปตฺโต.
  32. ธุ (ธู) นน : นป. การสบัด, การหวั่นไหว, การกำจัด, การทำลายละ (กิเลส)
  33. ปตฺตชีวก : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งการเลี้ยงชีพ วิ. ชีวิกํ ปตฺโต ปตฺตชีวโก. กลับบทหน้าไว้หลัง รูปฯ ๓๓๖.
  34. ปตฺตยาน : (นปุ.) สัตว์ผู้ไปด้วยปีก, นก. วิ. ปตฺเตน ยาตีติ ปตฺตยาโน. ยา คติยํ, ยุ.ปตฺตํ ยานํ เอตสฺสาติ ปตฺตยาโน (มีปีกเป็นยาน). ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  35. ภุชปตฺต : (ปุ.) ไม้เสม็ด, ไม้แสม, ไม้ราชดัด. วิ. ภุโช ปาณิ, ตํสทิสปตฺตตาย ภุชปตฺโต. เป็น ภูชปตฺต บ้าง.
  36. มุสาวาท : (ปุ.) การกล่าวซึ่งคำเท็จ, การกล่าวซึ่งคำปด, การพูดเท็จ, การพูดปด, การกล่าวคำเท็จ, คำเท็จ, คำปด, คำไม่จริง.
  37. ยุคปตฺต : (ปุ.) ตันซึก, ต้นทองกวาว, ต้นทองหลาง. วิ. ยุคํ ยมกํ ปตฺต มสฺสาติ ยุคปตฺโต.
  38. วิสวาท : ป. การหลอกลวง, การพูดปด
  39. วิสวาเทติ : ก. หลอกลวง, พูดปด
  40. สมฺปติ : (อัพ. นิบาต) กาลนี้, บัดนี้, เดี๋ยวนี้, บัดเดี๋ยวนี้, ในกาลนี้, ฯลฯ. นิบาตลงในอรรถกาลสัตมี รูปฯ.
  41. สาคล : (นปุ.) สาคละ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. วิ. สานํ ธนานํ อุปฺปตติฎฺฐานํ สากโร. ส+อากร ใน วิ. ใช้ อุปฺปตฺติฎฺฐาน แทน. สากดร เอว สาคลํ. แปลง ก เป็น ค ร เป็น ล.
  42. สึส : (นปุ.) รวง เช่นรวงข้าว. สิสฺ ปตฺถายํ, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  43. สึสปา : (อิต.) ประดู่ลาย. สิสฺ ปตฺถายํ, อโป, นิคคฺหิตตาคโม.
  44. อฏฺฐปริขารอฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘.บริขาร ๘ คือปตฺโต บาตร, ติจีวรํไตรจีวร(นับ๓), กายพนฺธนํประคดเอว, วาสิมีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํผ้ากรองน้ำ(ธมกรก).
  45. อฏฺฐปริขาร อฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘. บริขาร ๘ คือ ปตฺโต บาตร, ติจีวรํ ไตร จีวร(นับ๓), กายพนฺธนํ ประคดเอว, วา สิ มีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํ ผ้ากรองน้ำ (ธมกรก).
  46. อภูตกฺขาน : นป. การพูดปด, การกล่าวคำไม่จริง
  47. อมฺพุชากร : (ปุ.) บ่อ, บึง, สระ, ทะเลสาป.วิ.อมฺพุชานํอากโรอุปฺปตฺติฏฺฐานํอมฺพุชากโร.
  48. อิตฺถมฺภูต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งประการนี้, ถึงแล้ว ซึ่งอาการนี้, ถึงแล้วซึ่งความเป็นอย่างนี้. วิ. อิตฺถํ ภูโต ปตฺโตติ อิตฺถมฺภูโต. คำแปลหลัง วิ. อิตฺถตฺตํ ภูโตติ อิตฺถมฺภูโต. ลบ ตฺต.
  49. อุปปาต : ดู อุปปตฺติ
  50. 1-50 | [51-100]

(0.0385 sec)