Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พฺรหฺมจารี, พฺรหฺม, จารี , then จะรี, จาร, จารี, พรหม, พฺรหฺม, พรหมจาร, พฺรหฺมจารี, พฺรหฺมา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พฺรหฺมจารี, 180 found, display 101-150
  1. ชยปาล : (ปุ.) พระพรหม, พระศิวะ.
  2. ฌสางฺค : (ปุ.) ฌสางคะ ชื่อของพระอนิรุทธ์ ลูก ของพระพรหม.
  3. ฏีกาจริย : ป. พระฎีกาจารย์, อาจารย์ผู้แต่งหนังสืออธิบายอรรถกถา
  4. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  5. เทวตา : (อิต.) เทวดา, เทพดา, เทพยดา, เทวัญ. คำ เทวตา นี้หมายเอาทั้ง เทพบุตร เทพธิดา และพรหม. เทโว เอว เทวตา. ตา ปัจ. สกัด. อภิฯ และรูปฯ ๓๖๕. ศัพท์ ที่แปลว่า เทวดา มี ๑๕ ศัพท์ และใช้เป็น พหุ. ทั้งสิ้น. ส. เทวตา.
  6. เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
  7. เทสก เทสิก : (วิ.) ผู้แสดง, ผู้บรรยาย, ผู้ชี้แจง, ผู้สอน. ทิสฺ ทิสิ วา อุจจารเณ, ณวุ. ส. เทศก.
  8. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  9. ธม : (ปุ.) คนก่อไฟ, พระจันทร์, พระยม, พระกฤษณะ, พระพรหม. ธมฺ สทฺทคติ- สํโยเคสุ, อ. ส. ธม.
  10. ธมฺมชาล : นป. ข่ายคือธรรม; ชื่อของพระสูตรหนึ่งคือธรรมชาลสูตร, พรหมชาลสูตรก็เรียก
  11. นารท : (ปุ.) นารทะ พระนามของพระพุทธเจ้า องค์หนึ่ง ชื่อลูกพระพรหม ชื่อฤาษีตน หนึ่งผู้ชำนาญการพยากรณ์และผู้เป็นต้น ประดิษฐ์ดนตรี ชื่ออำมาตย์. ส. นารท.
  12. นารายณ : (ปุ.) นารายณะ นามพระวิษณุ, พระนารายณ์ พระเจ้าองค์หนึ่งใน ๓ องค์ ของศาสนาฮินดู ได้ในอักษร อะ อีกสอง องค์คือ พระศิวะ อักษร อุ และ พระพรหม อักษร มะ รวมเป็น โอม. ส. นารายณ.
  13. นาวาสญฺจรณ : นป. ดู นาวาสญฺจาร
  14. ปชาปติ : ป. เจ้าแห่งหมู่สัตว์, พระพรหม
  15. ปยุตฺตก : ค., ป. ผู้ที่เขาประกอบขึ้น, ผู้ที่เขาแต่งตั้งขึ้น, ผู้ที่เขาใช้งาน; คนงาน, คนรับจ้าง, จารบุรุษ
  16. ปริตฺตสุภ : (ปุ.) เทพชาวปริตตสุภะ, ปริตตสุภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๗ มีความงามน้อย.
  17. ปริตฺตาภ : (ปุ.) พรหมปริตตาภะ วิ. ปริตฺตา อาภา เอเตสนฺติ ปริตฺตาภา. เทวดาชั้น ปริตตาภะ, ปริตตาภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๔ ใน ๑๖ ชั้น.
  18. ปริตฺตาภา : (อิต.) ภูมิเป็นที่เกิดของพรหม- ปริตตาภะ, ภูมิเป็นที่อยู่ของพรหม- ปริตตาภะ.
  19. ปิตามห : ป. พรหม, ปู่, ตา, บรรพบุรุษ
  20. โปราณ : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีในก่อน, อาจารย์ผู้เกิดแล้วในกาลก่อน, โบราณาจารย์. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  21. พกาภิธาน : ค. อันมีชื่อว่า พกาพรหม
  22. พฺรหฺมกปฺป : ค. เหมือนพรหม, คล้ายพรหม
  23. พฺรหฺมกาย : (ปุ.) พรหมกายเป็น พระนามของพระพุทธเจ้า (มีพระวรกายประเสริฐสุด).
  24. พฺรหฺมกายิก : ค. ผู้นับเนื่องในพรหม, หมู่พรหม
  25. พฺรหฺมกุตฺต : นป. การงานของพรหม, การกระทำแห่งพรหม
  26. พฺรหฺมญฺญ : (วิ.) เกื้อกูลแก่พรหม วิ. พฺรหฺมสฺสหิตํ พฺรหมญฺญ. ณฺย ปัจ. แปลงเป็น ญฺญ.
  27. พฺรหฺมญฺญตา : (อิต.) ความปฏิบัติเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่พรหม, ความประพฤติเกื้อกูลแก่พรหม. ตา ปัจ. สกัด.
  28. พฺรหฺมตฺตภาว : ป. อัตภาพแห่งพรหม
  29. พฺรหฺมทณฺฑ : (ปุ.) ไม้แห่งพระพรหม, อาชญาของพระพรหม, อาชญาอันประเสริฐ, พรหมทัณฑ์ ชื่อ การลงโทษอย่างสูงอย่างหนึ่งของพุทธศาสนา คือห้ามไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายากสอนยากห้ามไม่ ให้ใครพูดด้วย. ปัจจุบันนี้ยังใช้ได้ผลหรือไม่?
  30. พฺรหฺมทตฺต : (ปุ.) พรหมทัต ชื่อพระเจ้าแผ่นดิน.
  31. พฺรหฺมทตฺติย : (วิ.) อันพรหมใช้แล้ว วิ. พฺรหฺมุนา ทินฺโน พฺรหฺมทตฺติโย. ทินฺนสทฺท- สฺส ทตฺติยภาโว.
  32. พฺรหฺมนิมนฺตนิก : ค. ผู้เชื้อเชิญพรหม
  33. พฺรหฺมนิมฺมิต : ค. อันพรหมเนรมิตรแล้ว, อันพรหมสร้างแล้ว
  34. พฺรหฺมปตฺต : ค. ถึงภาวะแห่งพรหม, ถึงความเป็นผู้ประเสริฐ
  35. พฺรหฺมภกฺข : ป. อุดมคติ; อาหารทิพย์, อาหารของพวกพรหมบางพวกหมายถึงปีติ
  36. พฺรหฺมภวน : นป. ภพแห่งพรหม
  37. พฺรหฺมรูปวณฺณ : (วิ.) มีวรรณะเพียงดังวรรณะแห่งรูปแห่งพรหม.
  38. พฺรหฺมลิขิต : (นปุ.) รอยเขียนของพระพรหม, พรหมลิขิต (เส้นชี้ชะตากรรมของคนซึ่งเป็นไปตามอำนาจของกรรม).
  39. พฺรหฺมสร : (ปุ.) เสียงราวกะว่าเสียงแห่งพรหม.
  40. พฺรหฺมสฺสร : ป. เสียงเพียงดังเสียงแห่งพรหม; เสียงนุ่มนวลแจ่มใสไพเราะ
  41. พฺรหฺมุชฺชุคตฺต : ค. มีกายตรงเหมือนกายพรหม, มีท่าทางสง่างาม (ลักษณะอย่างหนึ่งในกายของมหาบุรุษ)
  42. พฺรหฺมุปฺปตฺติ : อิต. การเกิดในสวรรค์ชั้นพรหม
  43. ภทฺธ : (วิ.) มีพรหมเป็นเทวดา?
  44. ภวคฺค : (ปุ.) ภวัคคะ ชื่อภพของพรหม ชื่อพรหมผู้เกิดในชั้นภวัคคะ, ภวัคคพรหม.
  45. เมถุน : (นปุ.) ความประพฤติของคนคู่ คือ หญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, อัชฌาจารของคนคู่กัน, ความยินดีของคนคู่กัน, การร่วมสังวาส. วิ. มิถุนานํ อิตฺถีปุริสานํ สมานฉนฺทานํ อาจาโร เมถุนํ. ณ ปัจ.
  46. รูปภว : ป. รูปภพ, พรหมโลก
  47. สหมฺปติ : (ปุ.) สหัมบดี ชื่อท้าวมหาพรหมผู้มาทูลอารธนาให้พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม, ท้าวสหัมบดี, ท้าวสหัมบดีพรหม.
  48. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  49. สุทฺธาวาส : (ปุ.) สวรรค์ชั้นสุทธาวาส ชื่อพรหมโลกชั้น ๑ ใน ๑๖ ชั้น เป็นที่อยู่ของพระอนาคามี. วิ. สุทฺโธ อาวาโส เอเตสนฺติ สุทฺธาวาโส.
  50. สุทสฺสี : (ปุ.) สุทัสสี ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๑๕ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุทัสสีพรหม ชื่อพรหมผู้เป็นสิ่งต่าง ๆ ได้โดยความสะดวก วิ. สุเขน ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสี ชื่อพรหมผู้บริบูรณ์ดีในการเห็นมากยิ่งกว่าสุทัสสพรหม.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-180

(0.0458 sec)