ปวารณา : 1. ยอมให้ขอ, เปิดโอกาสให้ข้อ 2.ยอมให้ว่ากล่าวตักเตือน, เปิดโอกาสให้ว่ากล่าวตักเตือน, ชื่อสังฆกรรมที่พระสงฆ์ทำในวันสุดท้ายแห่งการจำพรรษา คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ เรียกว่าวันมหาปวารณา โดยภิกษุทุกรูปจะกล่าวปวารณา คือ เปิดโอกาสให้กันและกันว่ากล่าวตักเตือน ได้ดังนี้ “สงฺฆมฺภนฺเต ปวาเรมิ, ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา; วทนฺตุ มํ, อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย; ปสฺสนฺโต ปฏิกฺกริสฺสามิ. ทุติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ ปวาเรมิ,..... ตติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ ปวาเรมิ,.......” แปลวว่า “ข้าพเจ้าขอปวารณกะสงฆ์ ด้วยได้เห็นก็ตาม ด้วยได้ยินก็ตาม ด้วยน่าระแวงสงสัยก็ตาม, ขอท่านผู้มีอายุทั้งหลายจงว่ากล่าวกะข้าพเจ้าด้วยอาศัยความหวังดี, เอ็นดู, เมื่อข้าพเจ้ามองเห็น จักแก้ไขแม้ครั้งที่สอง.........แม้ครั้งที่สาม.......” (ภิกษุผู้มีพรรษาสูงสุดในที่ประชุมว่า อาวุโส แทน ภนฺเต)
ปฏิญาณ : การให้คำมนโดยสุจริตใจ, การยืนยัน
พาหุสัจจะ :
ความเป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก, ความเป็นผู้ได้เรียนรู้มาก หรือคงแก่เรียน มีองค์ ๕ คือ ๑.พหุสฺสุตา ได้ยินได้ฟังมาก ๒.ธตา ทรงจำไว้ได้ ๓.วจสา ปริจิตา คล่องปาก ๔.มนสานุเปกฺขิตา เจนใจ ๕.ทิฏฺยา สุปฏิวิทฺธา ขบได้ด้วยทฤษฎี ดู พหูสูต
วุฏฐานคามินี : 1.วิปัสสนาที่ให้ถึงมรรค, วิปัสสนาที่เจริญแก่กล้าถึงจุดสุดยอด ทำให้เข้าถึงมรรค (มรรคชื่อว่าวุฏฐานะ โดยความหมายว่าเป็นที่ออกไปได้จากสิ่งที่ยึดติดถือมน หรืออกไปพ้นจากสังขาร), วิปัสสนาที่เชื่อมต่อให้ถึงมรรค 2.“อาบัติที่ให้ถึงวุฏฐานวิธี” คือ อาบัติที่จะพ้นได้ด้วยอยู่กรรม หมายถึงอาบัติสังฆาทิเสส, คู่กับเทสนาคามินี คืออาบัติที่พ้นได้ด้วยการแสดง (ตั้งแต่ถุลลัจจัยลงมา)
อนิยต : ไม่แน่, ไม่แน่นอน เป็นชื่ออาบัติที่ยังไม่แน่ ระหว่างปาราชิก สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ ซึ่งพระวินัยธรจะต้องวินิจฉัย
มนฺตา : (อิต.) ปรีชา, วิชา, ปัญญา. มนฺ ญาเณ, อนฺโต. ลบที่สุดธาตุ. อภิฯ.
มนฺทากิณี : (อิต.) มันทากิณี ชื่อสระใหญ่สระ ๑ ใน ๗ สระ, มนฺทปุพฺโพ, อกฺ คมเน, อินี. แปลง นี เป็น ณี เป็น มนฺทากินี โดยไม่แปลงก็มี.
มนฺทาร : (ปุ.) มันทาระ ชื่อภูเขาข้างทิศปัจฉิม. มนฺท+อรฺ ธาตุในความไป ถึง เป็นไป ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น มนฺทร วิ. มนิทยติ สูริโย ยสฺมึ มนฺทโร. มนฺทปฺปโภ วา อรติ ยสฺมึ สูริโยติ มนฺทโร.
มนฺตน : (นปุ.) การปรึกษา, ฯลฯ. การกระซิบ, ความลับ, มนฺตฺ คุตฺตภสเน, ยุ. แปลง น เป็น ณ เป็น มนฺตณ. บ้าง.
มนฺตี : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีความคิด, มนตรี (ผู้ปรึกษาราชการ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่).
ETipitaka Pali-Thai Dict : มนฺ, more results...
ปรึกษา : มนฺเตติ, มนฺเตยฺย
โง่ : พาล, ทนฺโธ, โมเหนาภิภูโต, มนฺโท, พาลิโส
ผักสะเดา : ปุจิมนฺทปณฺณํ, นิมฺพปณฺณํ, ปจิมนฺโท
เรียกผู้อยู่ใกล้ : อามนฺเตติ
ใสใจ : มนสิกริตฺวา, นิสาเมตฺวา, สญฺญํ กตฺวา
ใส่ใจ : มนสิกโรนฺติ, สญฺญํ กตฺวา
เจนใจ : โยนิโสมนสิกาเรน สูปธาริโต
ผู้รู้ : มุนิ, วิญฺญู, วิทู
มะลิ : สุมนปุปฺผํ