Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยิ่งกว่า, ยิ่ง, กว่า , then กว่, กวา, กว่า, ยง, ยงกวา, ยิ่ง, ยิ่งกว่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยิ่งกว่า, 467 found, display 401-450
  1. อิทฺธ : (อิต.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จกิจนั้น ๆ, ฤทธิ์, เดช. อิธฺ วุฑฺฒิยํ, อิ, ทฺสํโยโค. คำฤทธิ์ ไทยใช้ในความหมายว่า อำนาจศักดิ์สิทธิ์ หรือการทำอะไร ๆ ได้พิเศษกว่าคนอื่น. ส. ฤทฺธิ.
  2. อินฺทุ : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์ (ใหญ่กว่า ดาว กล่าวตามที่สายตามองเห็น). วิ. อินฺทติ นกฺขตฺตานํ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ อินฺทุ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อุ. ณุ วา ส. อินฺทุ.
  3. อินฺทุริยปโรปริยตฺติ : อิต. ความหย่อนและยิ่งแห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลาย
  4. อิสฺสริยยส : (วิ.) ผู้มียศใหญ่, ผู้มียศยิ่ง, ฯลฯ.
  5. อิสฺสริยาภรณ : (นปุ.) เครื่องประดับอันยิ่งใหญ่, อิสริยาภรณ์ (เครื่องประดับเกียรติยศ).
  6. อิสฺเสร : (นปุ.) ความยิ่งใหญ่, ความเป็นเจ้า, ความเป็นใหญ่. ณ ปัจ. ภาวตัท สกัด แปลง อ ที่ ส เป็น เอ.
  7. อุกฺกฏฐ : ค. อุกฤษฏ์, เลิศ, ประเสริฐ, สูงยิ่ง
  8. อุกฺกฏฐตา : อิต. ความอุกฤษฏ์, ความสูงยิ่ง, ความเลิศ
  9. อุจฺจตรสฺสร : (ปุ.) เสียงสูงกว่า.
  10. อุตฺตริตร : ค. สูงยิ่งขึ้นไป, ล้ำเลิศ
  11. อุตฺตริภงฺค : (ปุ.) แกงอันหักเสียซึ่งรสอันยิ่ง, แกงมีรสอร่อย, แกงอันมีรสต่าง ๆ, แกง อ่อม, ต้มยำ.
  12. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  13. อุตฺตริมนุสฺสธมฺมสิกฺขาปท : (นปุ.) สิกขาบท อันบัณฑิตกำหนดแล้ว ด้วยธรรมของ มนุษย์ผู้ยิ่ง, ฯลฯ.
  14. อุตฺตริย : นป. ความเป็นของสูง, ความเลิศยิ่ง; คำกล่าวตอบ
  15. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
  16. อุพฺพุฬฺหวนฺต : ค. ที่เจริญยิ่งนัก, (ช้าง) ตัวประเสริฐ, เป็น อุรุฬฺหวนฺต ก็มี
  17. อุสภาชาเนยฺย : (ปุ.) โคผู้รู้ซึ่งเหตุและภาวะมิ ใช่เหตุโดยยิ่ง, โคผู้ ผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจ โดยพลัน, โคผู้อาชาไนย (ผู้ได้รับการฝึก มาดีแล้วรู้เหตุและภาวะมิใช่เหตุได้รวดเร็ว).
  18. อุสฺส : ค. สูงกว่า
  19. อุสฺโสฬฺหิ : (อิต.) ความเพียรยิ่ง วิ. อุ ปพาฬฺหํ ทุกฺกรกมฺมํ สหติ ยายาติ อุสฺโสฬหิ. อุปุพฺ โพ, สห ปสหเน, โฬฺห, สหสฺส โส. อุสฺ สาหานํ อูหาติ วา อุสฺโสฬฺหิ. อุสฺสาห+อูหา แปลง อา ที่ศัพท์ อุสฺสาห เป็น โอ และ ลบ ห ลบ อู แห่ง อูหา แปลง หฺ เป็น ฬฺห อี อิต. รัสสะ เป็น อิ ฎีกาอภิฯ ไม่ รัสสะ ได้รูปเป็น อุสฺโสฬฺหี วิเคราะห์แรก ฎีกาอภิฯ แปลง สห เป็น โสฬฺห.
  20. อุฬารตา : อิต. ความโอฬาร, ความยิ่งใหญ่, ความประเสริฐ
  21. อุฬารปูชาธมฺมสฺสวนทีปมาลากรณาทิ : (วิ.) (บุญ) มีอันบูชาด้วยสักการะอันยิ่งและอัน ฟังซึ่งธรรม และอันทำซึ่งประทีป และ ระเบียบ เป็นต้น.
  22. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  23. เอกจตฺตาลีส เอกจตฺตาฬีส : (อิต.) ยี่สิบยิ่ง ด้วยหนึ่ง, ยี่สิบเอ็ด. วิ. เอเกนาธิกา จตฺตาลีสํ เอกจตฺตาลีสํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  24. เอกวีสติ : (อิต.) ยี่สิบยิ่งด้วยหนึ่ง, ยี่สิบเอ็ด.
  25. เอกาทส เอการส : (ไตรลิงค์) สิบเอ็ด. วิ. เอกญฺจ ทสา จาติ เอกาทสา. อ. ทวัน. สิบยิ่งด้วยหนึ่ง วิ. เอเกน อธิกา ทสาติ เอกาทส. ต.ตัป. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ร.ส. เอกาทศนุ
  26. โอม, โอมก : ค. ต่ำกว่า, เลวกว่า, น้อยกว่า
  27. โอร : ก. วิ. ภายใต้, ฝั่งนี้, น้อยกว่า
  28. โอรโต : (อัพ. นิบาต) ต่ำกว่า.
  29. โอสฺส : ค. สูง, เลิศ, ประเสริฐกว่า
  30. เ สฺนห : (ปุ.) ความเยื่อใย, ความรัก, ความรักใคร่, ความอาลัย, ความติดพัน, ความรักยิ่ง, ยาง(ของความรัก), ความประดิพัทธ์, ความเสน่หา, น้ำมัน. สฺนิหฺ ปีติยํ, โณ.
  31. กวาฏ : (ปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
  32. กวาฏก : (นปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
  33. กวาฏ, กวาฏก : ป., นป. หน้าต่าง, บานประตูหน้าต่าง
  34. กวาฏปิฏฐ : นป. บานประตู
  35. กวาฏพนฺธ : ป. เครื่องผูกประตู
  36. ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวาฬมีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาฬานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเฬสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา.
  37. กฏฺฐิ กวาณิช : (ปุ.) พ่อค้าไม้.
  38. กณฺฏกวาฏ : ป. รั้วหนาม
  39. จกฺกวฺห จกฺกวาก : (ปุ.) นกจักพราก, นกจาก พราก, ห่านแดง. วิ. จกฺก มิจฺจโวฺห ยสฺส โส จกฺกโวฺห. ศัพท์หลัง จกฺกบทหน้า วจฺ ธาตุในความกล่าว ณ ปัจ. ทีฆะ แปลง จ เป็น ก. แปลว่า ห่าน ก็มี.
  40. จกฺกวาก : ป. นกจากพราก, ห่านแดง
  41. จกฺกวาฏ : ป. ที่กำหนด, เขตแดน, ที่ตั้งตะเกียง
  42. จกฺกวาต : (ปุ.) ลมบ้าหมู (ลมหมุน)
  43. จกฺกวาลคพฺภ : ป. ห้องแห่งจักรวาล, ภายในจักรวาล
  44. จกฺกวาล จกฺกวาฬ : (ปุ.) ปริมณฑล, จักรวาล, จักรวาฬ. ปัจจุบัน ไทยใช้แต่คำจักรวาล น่าจะคงคำจักรวาฬไว้ด้วย.
  45. จกฺกวาลปพฺพต : ป., นป. จักรวาลบรรพต, ภูเขาล้อมรอบจักรวาล
  46. จกฺกวาลรชฺช : นป. ราชสมบัติในรอบจักรวาล, ความเป็นพระราชาผู้มีอำนาจทั่วจักรวาล
  47. จกฺกวาล, - วาฬ : ป., นป. จักรวาล, สุริยจักรวาล, โลก, ปริมณฑล
  48. จกฺกวาฬมุขวฏฺฏิ : (อิต.) ขอบแห่งปากแห่ง จักรวาฬ.
  49. เตลสงฺคุฬิกวาท : (ปุ.) วาทะว่า ขนมระคน ด้วยงา, วาทะว่าขนมแตกงา ( ขนมทำด้วย แป้งคลุกด้วยงา).
  50. นตฺถิกวาท : (ปุ.) วาทะว่า อ. ทานอันบุคคลให้แล้วชื่อว่าไม่มีผล, วาทะว่าทานอันบุคคล ให้แล้วไม่มีผล.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-467

(0.0419 sec)