Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ลัง , then ลง, ลํ, ลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ลัง, 717 found, display 351-400
  1. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  2. นติ : อิต. การก้ม, การน้อม,การเอียง, การโค้ง, การโน้มลง
  3. นทิก : (วิ.) มีแม่น้ำ, นทีศัพท์ ก ปัจ. ลงใน พหุพ. รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๓๔๑.
  4. นทิมาติก นทีมาติก : (ไตรลิงค์) ที่อาศัยน้ำ มาแต่แม่น้ำ. วิ. นที มาตา อสฺสาติ นทีมาติโก. ก ปัจ. ลงในพหุพ.
  5. นนิกาม : ค. ไม่เหมาะสม, ไม่ลงรอยกัน, ไม่ยินดีด้วย
  6. นโม : (อัพ. นิบาต) ไหว้. ลงในอรรถ ปฐมา ทุติยาวิภัติ รูปฯ และอภิฯ.
  7. นฺยาส : ป. วางลง, หย่อนลง, นำไปข้างหน้า
  8. นวกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นเก้าครั้ง, สิ้นเก้า คราว, สิ้นเห้าหน. นวศัพท์ กฺขตฺตํ ปัจ. ลงใน ทุติยาวิภัติ แทน วาร ศัพท์ กัจฯ รูปฯ และโมคฯ. ถ้าแปลเป็น กิริยาวิเสสนะ แปลว่า เก้าครั้ง เก้าคราว เก้าหน.
  9. นวิมน : (อิต.)เก้าสิบ.แปลงทสที่แปลว่าเก้าสิบ(ทสเก้าครั้ง)เป็นนวลงโยวิภัติแปลงโยเป็นอุติรูปฯ๓๙๗.
  10. นาเมติ : ก. ก้ม, นอบนบ, ไหว้, กราบ, ให้น้อมลง
  11. นาลิ นาฬิ : (อิต.) ก้าน, กิ่ง, กระบอก, กล่อง, กล้อง, ลำต้น, ช่อง, ท่อ, หลอด, ทะนาน, แล่ง ( ๒ แล่งเป็น ๑ ทะนาน), นาลี นาฬี ชื่อมาตราตวง, ส. นาฑิ, นาฑิลิ, นาฑิลี.
  12. นิกฺขณติ, นิขนติ : ก. ขุด, ฝัง, ตั้งลง
  13. นิกฺขิปน : (นปุ.) การฝัง, การฝังไว้, การเก็บไว้, การตั้งลง, การตั้งไว้. นิปุพฺโพ, ขิปิ คติยํ, ยุ, โณ.
  14. นิกฺเขป : (ปุ.) การฝัง, การฝังไว้, การเก็บไว้, การตั้งลง, การตั้งไว้. นิปุพฺโพ, ขิปิ คติยํ, ยุ, โณ.
  15. นิกฎ, นิกฏฐ : ๑. นป. ที่ใกล้เคียง, บ้านใกล้เรือนเคียง ; ๒. ค. ใกล้, ใกล้เคียง; นำลง
  16. นิคฺคิลติ : ก. กลืนลงไป, ขยอกลงไป
  17. นิคณฺฐ นิคฺคณฺฐ : (ปุ.) คนมีกิเลสพัวพัน วิ. จตูหิ คนฺเถหิ พนฺธนียตฺตา นิคณฺโฐ นิคฺคณฺโฐ วา. นิปุพฺโพ, คถิ พนฺธเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น นฺ เป็น คนฺถ แปลง นถฺ เป็น ณฺฐ. คนปราศจาก เครื่องผูกเครื่องร้อยรัด. นิคต+คณฺฐ. นิครนถ์ ชื่อนักบวชนอกพุทธศาสนา นักบวชของศาสนาเช่น.
  18. นิคาฬฺหิก : ค. อันจมลง, อันหมก, อันติดยึด
  19. นิฏฐาติ : ก. จบลง, หมด, สิ้นสุด, สำเร็จ
  20. นิฏฐาปน : (นปุ.) อันยัง...ให้ตั้งลง, อัน ยัง...ให้สำเร็จ, อันยัง...ให้จบ. นิ+ฐา+ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ. ปัจ.
  21. นิตฺถรณ : นป. การข้ามไป, การผ่านไป, การก้าวล่วง, การจบลง, การทำสำเร็จ; การทอดถอน, การสลัดทิ้ง
  22. นิตฺถรติ : ก. ข้ามไป, ผ่านไป, ก้าวล่วง, จบลง, ทำสำเร็จ; ทอดถอน, สลัดทิ้ง
  23. นินฺนต : ค. ซึ่งน้อมลง, ซึ่งโค้งลง, ซึ่งเอนลง
  24. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  25. นินฺนามี : ค. อันโน้มลง, อันน้อมลง
  26. นินฺนาเมติ : ก. น้อมลง, ก้มลง, โค้ง, แลบออก
  27. นินฺนีต : ค. ถูกนำลงไป, ถูกนำไป, ถูกพาไป, แห้งแล้ง, หมดจด
  28. นิปจฺจ : กิต. ตกลงแล้ว, หล่นลง
  29. นิปชฺชติ : ก. นอน, นอนลง, เอนกาย, หลับ
  30. นิปชฺชเปติ : ก. ให้นอน, ให้หลับ, ให้จมลง, ฝัง
  31. นิปฺปตติ : ก. ตกไป, ตกหล่น, ล้มลง, เข้าไป
  32. นิปุณ : (วิ.) อัน...กรองแล้วโดยไม่เหลือ, อัน...ชำระแล้วโดยไม่เหลือ. นิปุพฺโพ, ปุ ปวเน, ยุ. ละเอียด, สุขุม, นุ่มนวล, ฉลาด, หลักแหลม, ชำนาญ. นิปุพฺโพ, ปุณฺ นิปุเณ, อ. นิศัพท์ลงในอรรถ เฉก. ส. นิปุณ.
  33. นิพฺพานปริโยสาน : ค. อันสุดลงแค่นิพพาน, มีนิพพานเป็นที่สุด
  34. นิพฺพาโนคธ : ค. ซึ่งหยั่งลงสู่พระนิพพาน
  35. นิพฺภจฺเจติ : ก. ขู่, คุกคาม; ทำให้เลวลง, หยามน้ำหน้า
  36. นิมฺมานิยติ : ก. อันเขาลดต่ำลง, อันเขาเย้ยหยัน, อันเขาไม่นับถือ
  37. นิมุคฺค : ค. ซึ่งดำลงแล้ว, ซึ่งจมลงแล้ว
  38. นิมุชฺชติ : ก. ดำลง, จมลง
  39. นิมุชฺชน : นป. การดำน้ำ, การจมน้ำ, การโจนลงไปในน้ำ, การอาบน้ำ
  40. นิยตมิจฺฉาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นผิดอัน ดิ่งลงแล้ว, ความเห็นผิดอันดิ่ง.
  41. นิยุชฺชน นิยุญชน : (นปุ.) การประกอบเข้า, ความประกอบเข้า. นิปุพฺโพ, ยชฺ โยเค, ยุ. ซ้อน ชฺ ศัพท์หลังลงนิคคหิตอาคม.
  42. นิลญจก นิลญฉก : (ปุ.) คมผู้หมายลง, คน ประทับตา, คนผู้ทำรูป, คนผู้ทำรูปสัตว์. นิปุพฺโพ, ลญจฺ ลญฉฺ ลกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.
  43. นิสชฺช : กิต. นั่งลงแล้ว
  44. นิสชฺชา : อิต. การนั่งลง
  45. ปจฺโจโรลติ : ก. กลับลงมา
  46. ปญฺจปติฏฺฐิต : นป. เบญจางคประดิษฐ์, การหมอบลงกราบกับพื้นด้วยส่วนทั้งห้า (หน้าผาก ๑, มือ ๒, เข่า ๒)
  47. ปฏิสมฺภิต : กิต. ล้มลงแล้ว
  48. ปณมติ : ก. น้อมกายลงแสดงความเคารพ, นอบน้อม, เคารพ, บูชา, โค้ง, งอ
  49. ปณิปตติ : ก. ฟุบลงเบื้องหน้า, หมอบลงข้างหน้า
  50. ปณิปาต : ป. การหมอบลง, การหมอบกราน, การแสดงความเคารพ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-717

(0.0669 sec)