Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ลัง , then ลง, ลํ, ลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ลัง, 717 found, display 51-100
  1. เคณฺฑุก : (ปุ.) ลูกคลี, ลูกคลีหนัง, ฟุตบอลล์ ตะกร้อหนัง, ตะกร้อ? , กลุ่ม. คุฑิ เวฐเน, คุทฺ กีฬายํ, ณุโก, อุสฺเส. ธาตุแรก ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ ธาตุหลังแปลง ทฺ เป็น ณฺฑ.
  2. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  3. โคตฺต โคตฺร : (นปุ.) แซ่, เผ่า, พันธุ์, เหง้า, เหล่า, เหล่ากอ, เชื้อ, เชื้อสาย, สกุล, วงศ์, โคตร. วิ. โค วุจฺจติ อภิธานํ พุทฺธิ จ, เต ตายตีติ โคตฺตํ. ควํ สทฺทํ ตายตีติ วา โคตฺตํ. โคปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ตฺสํ โยโค. รูปฯ ๕๕๒ วิ. โคปตีติ โคตฺตํ. คุปฺ รกฺขเณ สํวรเณ วา, โต, ปสฺส โต. กัจฯ ๖๕๖ รูปฯ ๖๕๐ ลง ต, ตฺรณฺ ปัจ.
  4. ฆคฺฆร : (ปุ.?) ซอกเขา, นกแสก, ประตู แม่น้ำ, เสียงสำรวล (หัวเราะ) ฆํสฺ ฆสนอทเนสุ, โร. ลง อ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ส เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ฆ แปลง นิคคหิต เป็น ค.
  5. ฆฏ : (ปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ตุ่ม, ตุ่มใหญ่, กระออม (หม้อน้ำ) กะออม กะละออม กัลออม ก็เรียก, เปรียง (น้ำมัน น้ำมันไขข้อของวัว), แนว, ราว (แถวแนว) ฆฏฺ จลเน, อ. เป็น ฆฏก โดยลง ก สกัดบ้าง เป็น ฆฏี โดย ลง อี ปัจ. บ้าง.
  6. ฆฏา : (อิต.) หม้อ, หม้อน้ำ, ตุ่ม, ตุ่มใหญ่, กระออม (หม้อน้ำ) กะออม กะละออม กัลออม ก็เรียก, เปรียง (น้ำมัน น้ำมันไขข้อของวัว), แนว, ราว (แถวแนว) ฆฏฺ จลเน, อ. เป็น ฆฏก โดยลง ก สกัดบ้าง เป็น ฆฏี โดย ลง อี ปัจ. บ้าง.
  7. ฆณ ฆน : (นปุ.) ฆณะ ฆนะ ชื่อองค์ที่ ๔ ใน ๕ องค์ของดุริยางค์, สัมมดาฬ เป็นต้น ชื่อ ฆณะ ฆนะ. หนฺ หึสายํ. อ, หสฺส โฆ. อภิ ฯ ลง ณ ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ. สัมมดาฬ คือ ดาฬที่ทำด้วยไม้ สมฺมตาฬํ นาม กฏฺฐมยตาฬํ. กังสดาล ( ระฆังวง- เดือน ) คือ ดาฬที่ทำด้วยโลหะ กํสตาฬํ นาม โลหมยํ. สิลาตาฬะ คือดาฬที่ทำด้วย สิลาและแผ่นเหล็ก สิลาย จ อโยปฏฺเฏน จ วาทนตาฬํ สิลาตาฬํ. ฏีกาอภิฯ
  8. จกฺกิก : (ปุ.) คนเที่ยวไปด้วยจักร, คนลาดตระ เวน. ณิกปัจ. อภิฯ ลง อิก ปัจ.
  9. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  10. จณก : (ปุ.) ถั่วดำ, ถั่วราชมาษ. จณฺ ทาเน, ณฺวุ. หรือ ลง อ ปัจ. ก สกัด.
  11. จณฺฑ จณฺฑาล : (วิ.) หยาบช้า, เกรี้ยวกราด, ร้ายกาจ, ดุ, ร้าย, ดุร้าย, ขึ้งเคียด, ขึ้ง เคียดนัก, จัด, ฉุนเฉียว, โหด, เหี้ยม, โหดเหี้ยม, จฑิ จณฺฑนโกเปสุ. ศัพท์แรก อ ปัจ. กัจฯ และรูปฯ ลง ก ปัจ. ลบ ก ศัพท์หลังลง อล ปัจ.
  12. จตฺตารีส จตฺตาลีส จตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สี่สิบ (สี่แห่งสิบสี่ หน คือ ๑๐ x ๔) หรือ จตุกฺก ที่แปลว่า หมู่สี่แห่งสิบ เป็น จตฺตาร ลง โย วิภัติ แปลง โย เป็น อีสํ ลบนิคคหิต ศัพท์ที่ ๒,๓ เพราะ แปลง ร เป็น ล, ฬ. รูปฯ ๓๙๗.
  13. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  14. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  15. จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
  16. จมู : (อิต.) เสนา, กองทหาร, กองทัพ, กองทัพบก. จมุ อทเน (คมเน), อู อภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น จมุ ฎีกาอภิฯลง อู ปัจ. เป็น จมู. ส. จมู.
  17. จสก : (ปุ.) ขัน (ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ), จอก (ภาชนะเล็กๆสำหรับตักน้ำในขัน ใหญ่), กระบวย (ภาชนะสำหรับตักน้ำทำ ด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ ทำด้วยสิ่ง อื่นๆบ้าง), แก้วน้ำ. จสฺ ภกฺขเณ, อ, สตฺเถโก. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณฺวุ ปัจ.
  18. จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
  19. ฉกลก ฉคลก : (ปุ.) แพะ วิ. ฉินฺทนฺโต คจฺฉตีติ ฉกลโก ฉคลโก วา. ฉ มาจาก โฉ ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. กล, คล มาจาก คมฺ ธาตุ อ ปัจ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. แปลง ม เป็น ล ศัพท์ต้น แปลง ค เป็น ก ลง ก สกัด. ส. ฉค.
  20. ฉฏฺฐ ฉฏฺฐม : (วิ.) ที่หก วิ. ฉนฺนํ ปูรโณ ฉฏฺโฐ ฉฏฺฐโมวา.ฉ ศัพท์ ฐ ปัจ. ปูรณตัท. ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง แปลง ฉฏฺฐ เป็น ฉฏฺฐม รูปฯ ๓๙๑. สัททนีติว่า ลง ม สกัด. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๔ ลง ฎฺฐ, ฏฺฐม ปัจ.
  21. ฉท : (ปุ.) ใบ, ใบไม้, ปีก, ปีกนก, ฝัก, ดอกตูม, หลังคา. ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ส. ฉท.
  22. ชนิกา : (อิต.) แปลเหมือน ชนนี. ชนิก ลง อา อิต.
  23. ชมฺพาลี ชมฺพาฬี : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของ ไม่สะอาด, บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำครำ, ชมุ อทเน, อโล. ลง พ อักษรสุดธาตุ.
  24. ชมฺพุก : (ปุ.) หมาจิ้งจอก. ชมุ อทเน, ณฺวุ. ลง พ อักษร ที่สุดธาตุและแปลง อ เป็น อุ. ส. ชมฺพุก, ชมฺพูก.
  25. ชมฺภ ชมฺภีร ชมฺภุล : (ปุ.) มะนาว, ต้นมะนาว, ส้ม, ต้นส้ม. ชมุ อทเน, ภนฺโต (ลง ภ อักษรที่สุดธาตุ), อ, อีโร, อุโล. ชมฺภฺ คตฺตวิมาเน. ส. ชมฺพีร ชมฺภีร แปลว่า มะกรูดด้วย.
  26. ชยมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว. วิ. ชายา จ ปติ จ ชยมฺปติ รัสสะ อาที่ ชา และยา สังโยค มฺ หรือ ลง นิคคหิตอาคม แล้วแปลงเป็น มฺ อภิฯ ว่าเพราะมี ปติ อยู่เบื้องปลาย แปลง ชายา เป็น ชย.
  27. ชร : (วิ.) แก่, คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม, เป็นไข้, เจ็บไข้, เป็นโรค. ชรฺ วโยหานิ – โรเคสุ, อ. รูปฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ, ส. ชรณ, ชรินฺ.
  28. ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
  29. ตจ : (ปุ.) หนัง, เปลือก, เปลือกไม้. วิ. ตจติ สรีรํ ปาเลตีติ ตโจ. ตจฺ ปาลเน, อ. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณ ปัจ.
  30. ตณฺหงฺกร : (วิ.) ผู้เบียดเบียนตัณหา, ผู้กำจัด ตัณหา. วิ. ตณฺหํ กิโณตีติ ตณฺหงฺกโร. ตณฺหาปุพฺโพ, กิ หึสายํ, อ. แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ร รัสสะ อา ที่หาเป็น อ ลง นุ อาคมแปลงเป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ รูปฯ ๕๕0 กัจฯ ๕๒๕ วิ. ตณฺหํ กโรตีติ ตณฺหงฺกโร กรฺ หึสายํ.
  31. ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
  32. ตมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง). ตมฺ กํขายํ, ณฺวุ. ลง พ อักษรท้ายธาตุ รูปฯ ๕๙๘.
  33. ตรณี : (อิต.) เรือ, สำเถา, กำปั่น, แพ. วิ. ตรนฺติ ยาย สา ตรณี. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓. ลง อิ ปัจ. ได้รูปเป็น ตรณิ.
  34. ตริ ตรี : (อิต.) เรือ, สำเภา, กำปั่น, แพ. ตรฺ ตรเณ. รูปฯ ลงอิ ปัจ. อภิฯ ลง อี ปัจ.
  35. ตรุ : (ปุ.) ต้นไม้, กอไม้. วิ. ตรนฺติ อเนนาติ ตรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่มีฆะ.
  36. ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
  37. ตาปส : (ปุ.) บรรพชิตผู้มีธรรมเครื่องยัง กิเลสให้เร่าร้อน ( ย่างกิเลสให้แห้ง ). ตปฺ สนฺตาเป, โณ. ลง สฺ และ อ อาคม หรือ ลง สกฺ ปัจ. ทีฆะ ลบ กฺ ส. ตาปส.
  38. ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
  39. ตาลี ตาฬี : (อิต.) ต้นลาน. วิ. สณฺฐานโต ตาลสทิสตฺตา ตาลี ตาฬี อา อี ปัจ. ลงใน อรรถอุปมา หรือตั้ง ตฬฺ อาฆาเต, โณ, อตฺถิยํ อี. อภิฯ ลง อ ปัจ.
  40. ติกิจฺฉน : (นปุ.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  41. ติกิจฺฉา : (อิต.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  42. ตินฺทุก : (ปุ.) มะพลับ. ตนุ วิตฺถาเร, อุโก, ทนฺโต ( ลง ทฺ ที่สุดธาตุ ). ติทิ หึสายํ วา, อุ, สญฺญายํ โก.
  43. ติมฺพรุ ติมฺพรู ติมฺพรุสก ติมฺพรูสก : (ปุ.) มะพลับ. ติมุ อทฺทภาเว. สองศัพท์แรก อู ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ สองสัพท์หลัง อูส ปัจ. ก สลัด ศัพท์ที่ ๓ รัสสะ ลง รฺ อาคม ท้ายธาตุ แปลง มฺ เป็น พ นิคคหิตอาคม ต้นเหตุ แปลงเป็น มฺ อภิฯ น. ๔๘๗.
  44. ตึส ตึสติ : (อิต.) สามสิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สามสิบ ( ทส จ ทส จ ทส จ ทส ) เป็น ติ ลง โย วิภัตติ เป็นอีสํ ลบนิคคหิต รัสสะ อี ลงนิคคหิตอาคม ที่ ติ ศัพท์หลัง ลง ติ อาคมท้ายศัพท์ รูปฯ ๓๙๘ หรือแปลงติก ( หมู่แห่งสาม ) เป็น ติ รูปฯ ๓๙๗.
  45. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  46. ตุนฺน : (วิ.) ชุน, เย็บ, ด้น ( เย็บเป็นฝีเข็มขึ้น ลง). ตุทฺ วฺยถเน, โน, ทสฺส โน.
  47. ตูณ ตูณีร : (ปุ.) แล่งธนู, แล่งศร, แล่งปืน. วิ. ตุเณนฺติ สเร เอตฺถาติ ตูโณ ตูณีโร วา ตูณี วา. ตูณฺ ปูรเณ, อ, อีโร วา. ศัพท์ที่ ๓ อ ปัจ. อี อิต. หรือ ลง อี ปัจ.
  48. ตูณี : (อิต.) แล่งธนู, แล่งศร, แล่งปืน. วิ. ตุเณนฺติ สเร เอตฺถาติ ตูโณ ตูณีโร วา ตูณี วา. ตูณฺ ปูรเณ, อ, อีโร วา. ศัพท์ที่ ๓ อ ปัจ. อี อิต. หรือ ลง อี ปัจ.
  49. ถปติ : (ปุ.) ช่างไม้.ฐา คตินิวุตฺติยํ, ติ.รัสสะ อา เป็น อ ปฺ อาคม แปลง ฐ เป็น ถ ถ้าตั้ง ถปฺ ธาตุ ก็ไม่ต้องลง ปฺ อาคม ลง อ อาคม เพื่อให้ ปฺ เป็น ป.
  50. ถมฺภกรี : (ปุ.) ข้าวเปลือก. วิ. ถมฺโภ คุมโภ, ตํ กโรตีติ ถมฺภกรี. กรฺ กรเณ, อี. ฏีกา อภิฯ ลง อิ ปัจ. เป็น ถมฺภกริ.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-717

(0.0374 sec)