Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อายุ , then อาย, อายุ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อายุ, 91 found, display 51-91
  1. อายมุข : นป. การไหลเข้ามา
  2. อายส : (วิ.) เป็นวิการแห่งเหล็กวิ. อยโส วิกาโรอายโส.ณปัจ.ราคาทิตัท.ส. อาคมรูปฯ ๓๖๒.
  3. อายสกฺย : นป. ความดูหมิ่น, ความเสื่อมเสีย, ชื่อเสียงเสีย
  4. อายสฺมนฺตุ : (วิ.) ผู้มีอายุ.
  5. ขนฺธธาตุอายตนาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วย ธรรมมีขันธ์และธาตุและอายตนะเป็นต้น. เป็น ต.ตัป. มี ส. ทวัน. และ ฉ. ตลุ เป็นท้อง.
  6. กายน : (นปุ.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง ร้อง. กุ สทฺเท, ยุ. แปลง อุ เป็น อาย.
  7. ฆาเตตาย : (วิ.) ควรฆ่า วิ. ฆาเตตุ อรหตีติ ฆาเตตาโย. อาย หรือ ราย ปัจ. ลบ ตุ.
  8. ฌาน : (นปุ.) ความคิด, ความพินิจ, ความเพ่ง. วิ. ฌายเตติ ฌานํ. เฌ จินฺตายํ, ยุ. ปจฺจนิเก นีวรณธมฺเม ฌาเปตีติ วา ฌานํ. ฌปฺ ฌาปฺ วา ทาเห, ยุ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. ฌายตีติ ฌานํ. เฌ ธาตุ ยุ ปัจ. ใน วิ. แปลง เอ เป็น อาย บทปลงแปลง เอ เป็น อา.
  9. ฐายิ : (วิ.) หยุดอยู่, ยืนอยู่, ตั้งอยู่, ดำรงค์อยู่. ฐา ธาตุ อิ ปัจ. แปลง อา เป็น อาย.
  10. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  11. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  12. ทานทาย : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งทาน วิ. ทานํ ททาตีติ ทานทาโย. ทานปุพฺโพ, ทา ทาเน, โณ. แปลง อา เป็น อาย.
  13. ทาย : (ปุ.) ป่า, หมู่ไม้, กอหญ้า, ทา อวขณฺฑนเฉทเนสุ. ทยฺ ทานคติหึสาสุ วา, โณ. แปลง อา เป็น อาย ถ้าตั้ง ทยฺ ธาตุ ก็ฑีฆะ.
  14. ทายน : (นปุ.) การตัด, การเกี่ยว, การเกี่ยว ข้าว. ทา ขณฺฑเน, ยุ. แปลง อา เป็น อาย.
  15. ทายี : (วิ.) ผู้ให้โดยปกติ, ผู้มีปกติให้, ทา ทา เน, ณี. ผู้ถือเอาโดยปกติ, ผู้มีปกติถือเอา. ทา อาทาเน, ณี. แปลง อา เป็น อาย. ผู้ควรเพื่ออันให้ วิ. ทาตุ ยุตฺโตติ ทายี. ดู ธมฺมจารี ประกอบ.
  16. ธมฺมกาย : (ปุ.) กองแห่งธรรม, หมวดแห่ง ธรรม, หมู่แห่งธรรม. ธมฺม+กาย. ธรรม กาย คือพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้, ธมฺมก+อาย. การประกอบด้วยธรรม, กาย มีธรรม. ธมฺม+ยุตฺต+กาย.
  17. ธย ธาย : (ปุ.) เจ้าหนี้. ธา ธารเณ, อ. แปลง อา เป็น อิ แปลง อิ เป็น ย ศัพทฺหลังแปลง อา เป็น อาย.
  18. นิทฺทายน : (นปุ.) การประพฤติซึ่งความหลับ (กำลังนอนหลับ), ความหลับ. นิทฺทา + อาย+ยุ ปัจ.
  19. มาย : (ปุ.) บุคคลผู้นับ, การนับ. มา ปริมาเณ, โณ. แปลง อา เป็น อาย.
  20. หรายน : (นปุ.) ความละอาย, หเร ลชฺชายํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อาย.
  21. อชฺฌยนอชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด.อธิ+อิ+ยุ ปัจ.แปลงอธิเป็น อชฺฌอิเป็น เอ เอเป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
  22. อชฺฌยน อชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด. อธิ+อิ+ยุ ปัจ. แปลง อธิ เป็น อชฺฌ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
  23. อุชฺฌายน : (นปุ.) การเพ่งโทษ, ฯลฯ, ความเพ่งโทษ, ฯลฯ. แปลง เอ ที่ เฌ เป็น อาย.
  24. อุปชฺฌาย : (ปุ.) อุปัชฌาย์, พระอุปัชฌาย์. วิ. มนสา อุเปจฺจ สิสฺสานํ หิเตสิตํ อุปฏฺฐ- เปตฺวา ฌายตีติ อุปชฺฌาโย (ผู้เพ่งด้วยใจ เข้าไปใกล้ชิด แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล แก่ศิษย์ ท.) พระเถระผู้ให้การอบรม, พระเถระผู้เป็นประธาน ในการอุปสมบท. อุปปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. ส. อุปธฺยาย.
  25. คามิ คามี : (วิ.) ผู้มีการไปเป็นปกติ วิ. คมนํ สีล มสฺสาติ คามิ วา. ศัพท์แรกลง ฆิณฺ ปัจ. ลบ พยัญชนะเหลือแต่ อิ ศัพท์ หลังลง ณี ปัจ. รูปฯ ๖๓๑. อายตึ คมิตุ สีลํ ยสฺส โหตีติ คามี. กัจฯ ๖๕๑.
  26. คายก : (ปุ.) คนขับร้อง, คนร้องเพลง. เค สทฺเท, ณฺวุ. เอการสฺส อายกาโร.
  27. จกฺขายตน จกฺขฺวายตน : (นปุ.) อายตนะ คือตา วิ. จกฺขุ เอว อายตนํ จกฺขายตนํ จกฺขฺวายตนํ วา. จกฺขุ+อายตน ศัพท์ต้นลบ อุ ศัพท์หลัง แปลง อุ เป็น ว.
  28. ชิวฺหายตน : (นปุ.) อายนะคือลิ้น, ชิวหาประ สาท (หมายเอาประสาทรับรู้รส).
  29. นิตฺเตช : ค. ซึ่งไม่มีเดช, ซึ่งหมดอำนาจ, อายเหนียม
  30. นิยฺยาส : (ปุ.) ความไหลซึม, ยาง, ยางไม้, เหงือก. วิ. ปสนฺโน หตฺวา นิยสติ ปคฺฆรตีติ นิยฺยาโส. นิปุพฺโพ, ยสุ อายเต, โณ, อถวา, อสุ พฺยาปเน, ยฺอาคโม. ซ้อน ยุ.
  31. ลชฺชติ : ก. อาย, ละอาย
  32. ลชฺชิตพฺพก : ค. ควรละอาย, น่าอาย
  33. อกฺขายี : (วิ.) ผู้มีปกติกล่าว, ฯลฯ.ณีปัจ.แปลงอาเป็นอาย.
  34. อมงฺกุภูต : ค. ผู้ไม่ขวยเขิน, ผู้ไม่ขวยอาย
  35. อลชฺชี : (วิ.) ผู้ไม่มียางอาย, ผู้ไม่มีความอาย, ผู้ไม่มีความกระดาก, ผู้หน้าด้าน.
  36. อวฺหายน : (นปุ.) คำเรียก, ฯลฯ.ยุปัจ.แปลงเอเป็นอาย.
  37. อากาสานญฺจายตน : (นปุ.) อากาสานัญจายตนะชื่อของอรูปฌานที่๑วิ. อากาสานญฺจํอายตนํอากาสานญฺจายตนํ.อากาสานญฺจํอายตนํอสฺสาติวาอากาสานญฺจายตนํ.
  38. อาตตายี : (ปุ.) คนร้าย, นักโทษ.อาปุพฺโพ, ตาปาลเน, ณี, ทฺวิตฺตํ(แปลงตเป็นตฺต), อาสฺสอาโย(แปลงอาเป็นอาย). แปลว่าเพชฌฆาต บ้าง.ส. อาตตายินฺ.
  39. อายต : (วิ.) กว้าง, กว้างขวาง, ยาว, ยืด, แผ่ออกไป.อาปุพฺโพ, ยตฺอายเต, อ.อิคมเนวา.โต.แปลงอิเป็นเอ เอ เป็นอย ทีฆะ.ส.อายต.
  40. อิณายิก : (ปุ.) บุคคลผู้ยืม, ลูกหนี้ (คนมีหนี้). วิ. อิณํ คณฺหาตีติ อิณายิโก. อายิก ปัจ. อิณํ อายติ ปวตฺเตีติ วา อิณายิโก. ณวุ ปัจ.
  41. 1-50 | [51-91]

(0.0249 sec)