Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อิ่ม , then อม, อิ่ม .

Eng-Thai Lexitron Dict : อิ่ม, more than 7 found, display 1-7
  1. full up : (ADJ) ; อิ่ม (คำไม่เป็นทางการ) ; Syn:full ; Ant:hungry
  2. be satiate with : (PHRV) ; อิ่มแปล้กับ ; Related:พอใจเต็มที่กับ
  3. saturated : (ADJ) ; อิ่มตัว ; Syn:full
  4. satiety : (N) ; ความเต็มอิ่ม ; Related:ความอิ่มแปล้, ความพอใจเป็นอย่างยิ่ง, ความมากเกินไป, ความอิ่มเกินไป ; Syn:repletion, surfeit ; Ant:emptiness
  5. saturation : (N) ; การทำให้อิ่มตัว ; Related:การอิ่มตัว ; Syn:fullness, soaking, overload
  6. impregnate : (ADJ) ; ที่ถูกทำให้อิ่มตัวด้วยบางสิ่ง ; Syn:saturated
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : อิ่ม, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : อิ่ม, more than 7 found, display 1-7
  1. อิ่ม : (V) ; be satisfied ; Syn:เบิกบาน, แช่มชื่น, อิ่มเอม ; Samp:สีหน้าของหล่อนอิ่มสุขใบหน้าผุดผ่องหลังจากไปทำบุญเข้าวัดมา
  2. อิ่ม : (V) ; be full ; Ant:หิว ; Def:เต็มแล้ว, พอแล้ว, หายหิว, หายอยาก ; Samp:นางกินข้าวไปได้ไม่กี่คำก็รู้สึกอิ่มขึ้นมาเฉยๆ
  3. อิ่มหนำ : (V) ; be full ; Related:be replete ; Syn:อิ่มหนำสำราญ, อิ่ม ; Ant:อดอยาก, ขาดแคลน ; Def:อิ่มเต็มที่ ; Samp:หมูแม่ลูกอ่อนล้มตัวนอนให้ลูกกินนมอย่างสำราญ หลังจากกินข้าวในรางจนอิ่มหนำ
  4. อิ่มหนำสำราญ : (V) ; be full ; Related:be replete ; Syn:อิ่มหนำ, อิ่ม ; Samp:หลังจากที่กินมื้อเที่ยงจนอิ่มหนำสำราญแล้ว เด็กๆ จะหาหนังสือมานั่งอ่านรอเวลาเข้าเรียน
  5. กระหาย : (V) ; thirst for ; Related:be thirsty ; Syn:หิว, อยาก ; Ant:อิ่ม ; Samp:คนที่เพิ่งฟื้นจากไข้ใหม่ๆ จะกระหายน้ำมาก
  6. โซ : (V) ; be hungry ; Syn:อดอยาก, หิว, หิวโซ, อดโซ ; Ant:อิ่ม ; Samp:เขาหิวโซมาจากไหนไม่รู้
  7. โซ : (ADJ) ; hungry ; Syn:อดอยาก, หิว, หิวโซ, อดโซ ; Ant:อิ่ม ; Samp:เหยี่ยวโซตัวหนึ่งกำลังตีปีกหยับๆ แล้วลอยตัวนิ่ง จ้องมองหนูในนาข้าว
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : อิ่ม, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : อิ่ม, more than 5 found, display 1-5
  1. อิ่ม : ก. เต็มแล้ว, พอแล้ว, หายหิว, หายอยาก. ว. เบิกบาน, แช่มชื่น, เช่น หน้าอิ่ม.
  2. อิ่มหนำ : ว. อิ่มเต็มที่ (ใช้แก่กริยากิน), อิ่มหนําสําราญ ก็ว่า.
  3. อิ่มเอม : ว. เป็นที่พอใจมาก, มักใช้เข้าคู่กับคำ เปรมใจ หรือ เปรมปรีดิ์ เป็น อิ่มเอมเปรมใจ หรือ อิ่มเอมเปรมปรีดิ์.
  4. อิ่มเอิบ : ว. แช่มชื่น, สดชื่น, เช่น หน้าตาอิ่มเอิบ; ปลาบปลื้ม, สบายใจมาก, เช่น จิตใจอิ่มเอิบ.
  5. อิ่มตัว : ว. เต็มที่แล้ว.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : อิ่ม, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : อิ่ม, 8 found, display 1-8
  1. ภัตตัคควัตร : ข้อควรปฏิบัติในหอฉัน, ธรรมเนียมในโรงอาหาร ท่านจัดเข้าเป็นกิจวัตรประเภทหนึ่ง กล่าวย่อ มี ๑๑ ข้อ คือ นุ่งห่มให้เรียบร้อย, รู้จักอาสนะอันสมควรแก่ตน, ไม่นั่งทับผ้าสังฆาฏิในบ้าน, รับน้ำและโภชนะของถวายจากทายกโดยเอื้อเฟือ และคอยระวังให้ได้รับทั่วถึงกัน, ถ้าพอจะแลเห็นทั่วกัน พระสังฆเถระพึงลงมือฉัน เมื่อภิกษุทั้งหมดได้รับโภชนะทั่วกันแล้ว, ฉันด้วยอาการเรียบร้อยตามหลักเสขิยวัตร, อิ่มพร้อมกัน (หัวหน้ารอยังไม่บ้วนปากและล้างมือ), บ้วนปากและล้างมือระวังไม่ให้น้ำกระเซ็น ฉันในที่มีทายกจัดถวาย เสร็จแล้วอนุโมทนา, เมือกลับอย่าเบียดเสียดกันออกมา, ไม่เทน้ำล้างบาตรมีเมล็ดข้าวหรือของเป็นเดนในบ้านเขา
  2. โภชชยาคู : ข้าวต้มสำหรับฉันให้อิ่ม เช่น ข้าวต้มหมู เป็นต้น มีคติอย่างเดียวกันกับอาหารหนัก เช่น ข้าวสวยต่างจากยาคูที่กล่าวถึงตามปกติในพระวินัย ซึ่งเป็นของเหลวใช้สำหรับดื่ม ภิกษุรับนิมนต์ในที่แห่งหนึ่งไว้ฉันยาคูไปก่อนไม่ได้ ดู ยาคู
  3. ยาคู : ข้าวต้ม, เป็นอาหารเบาสำหรับฉันรองท้องก่อนถึงเวลาฉันอาหารหนักเป็นของเหลว ดื่มได้ ซดได้ ไม่ใช่ของฉันให้อิ่ม เช่น ภิกษุดื่มยาคูก่อนแล้วไปบิณฑบาต ยาคูสามัญอย่างนี้ ที่จริงจะแปลว่าข้าวต้มหาถูกแท้ไม่ แต่แปลกันมาอย่างนั้นพอให้เข้าใจง่ายๆ ข้าวต้มที่ฉันเป็นอาหารมื้อหนึ่งได้อย่างที่ฉันกันอยู่โดยมากมีชื่อเรียกต่างออกไปอีกอย่างหนึ่งว่า ดู โภชชยาคู
  4. ราชา : “ผู้ยังเหล่าชนให้อิ่มเอมใจ” หรือ “ผู้ทำให้คนอื่นมีความสุข”, พระเจ้าแผ่นดิน, ผู้ปกครองประเทศ
  5. อมระ : ผู้ไม่ตาย เป็นคำเรียกเทวดาผู้ได้ดื่มน้ำอมฤต
  6. จันทรุปราคา : การจับจันทร์ คือเงาโลก เข้าไปปรากฏที่ดวงจันทร์ ขณะเมื่อดวงจันทร์กับดวงอาทิตย์อยู่ตรงกัน ข้ามโดยมีโลกอยู่ระหว่างกลางที่เรียกว่า ราหูอมจันทร์
  7. บุพพสิกขาวัณณนา : หนังสืออธิบายพระวินัย พระอมราภิรักขิต (อมร เกิด) วัดบรมนิวาส เป็นผู้แต่ง
  8. วินัยมุข : มุขแห่งวินัย, หลักใหญ่ๆ หรือหัวข้อสำคัญๆ ทีเป็นเบื้องต้นแห่งพระวินัย หรือเป็นปากทางนำเข้าสู่วินัยเป็นชื่อหนังสือที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสทรงรจนาขึ้น เพื่อชี้ประโยชน์แห่งพระวินัยมุ่งช่วยให้พระภิกษุสามเณรตั้งอยู่ในปฏิบัติพองาม ผู้ไม่เคร่งจะได้รู้จักสำรวมรักษามรรยาทสมเป็นสมณะฝ่ายผู้เคร่งครัดเกินไปจะได้หายงมงาย ไม่สำคัญตนว่าดีกว่าผู้อื่น ตั้งรังเกียจผู้อื่นเพราะเหตุผลเล็กน้อย เพียงสักว่าธรรมเนียมหรือแม้ชักนำผู้อื่นในปฏิบัติอันดี ต่างจะได้อานิสงส์คือไม่มีวิปฏิสาร; ทรงมุ่งหมายเพื่อจะแต่งแก้หนังสือบุพพสิกขาวัณณนาของพระอมราภิรักขิต (อมร เกิด) เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส; จัดพิมพ์เป็น ๓ เล่ม ใช้เป็นแบบเรียนนักธรรมชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก ตามลำดับ

ETipitaka Pali-Thai Dict : อิ่ม, more than 5 found, display 1-5
  1. มตฺต : (วิ.) อิ่ม, ชื่นชม, ยินดี. มทฺ วิตฺติโยเค, โต, ทสฺส โต.
  2. อภิตปฺปยติ : ก. อิ่ม, พอใจ, จุใจ
  3. กุจฺฉิปุร : (วิ.) ยังท้องให้เต็ม, เต็มในท้อง (พอเต็มท้อง พออิ่มท้อง).
  4. โกธภกฺข : ค. (ยักษ์) มีความโกรธเป็นภักษา (ธรรมดายักษ์ยิ่งโกรธก็ยิ่งมีวรรณะเอิบอิ่มขึ้นดุจได้กินอาหาร)
  5. ขีรมตฺต : ค. มีน้ำนมพอดื่มอิ่ม
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : อิ่ม, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : อิ่ม, 7 found, display 1-7
  1. อิ่ม : โสหิจฺจํ, ตปฺปนํ, ติตฺติ [อ.]
  2. ความอิ่ม : ตปฺปนํ, โสหิจฺจํ, ติตฺติ
  3. เลี้ยงจนอิ่ม : สนฺตปฺเปติ
  4. รสไม่อร่อย : อมธุร
  5. คลื่น : อูมิ, วีจิ
  6. ผี : ปิสาโจ, อมนุสฺโส
  7. ระลอกคลื่น : อูมิ, วีจิ [อิ.]

(0.1064 sec)