Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่องนำทาง, เครื่อง, นำทาง , then ครอง, ครองนำทาง, เครื่อง, เครื่องนำทาง, นำทาง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่องนำทาง, 723 found, display 151-200
  1. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  2. ฉิท : ค. ผู้ตัด, ผู้ทำให้แตก, ผู้ทำลาย, (นิยมใช้ในคำสมาส เช่น พนฺธนจฺฉิท = ผู้ตัดเครื่องผูก)
  3. ฉินฺนคนฺถ : ค. ผู้ไม่มีเครื่องผูกมัด, ผู้ไม่มีเครื่องร้อยรัด
  4. ฉินฺนสาฏก : ป., ค. ผ้าหรือเครื่องประดับขาดแล้ว; ผู้มีผ้าหรือเครื่องประดับขาด
  5. ชงฺเคยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับแข้ง, ชังเคยยกะ ชื่อกระทงจีวร เมื่อห่มแล้วกระทงนี้จะอยู่ รอบแข้ง. ชงฺฆา ศัพท์ เณยฺยก ปัจ. แปลง ชงฺฆา เป็น ชงฺคา เป็น ชงฺเฆยฺยก โดยไม่ แปลงบ้าง
  6. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  7. ชาตเวท : (ปุ.) ไฟมีเปลวอันเกิดแล้วอันบุคคล พึงรู้, ไฟเครื่องประสมซึ่งเปลว, ไฟ, เปลว ไฟ. วิ. ชาเต อุปฺปนฺเน วินฺทติฌาปยตีติ ชาตเวโท. อนฺธกาเร ชาตํ วิชฺชมานํ วินฺทติ ลภติ ชานาติ วา เอเตนาติ วา ชาตเวโท. ชนนํ ชาตํ เวโท ปากโฏ ยสฺส วา โส ชาตเวโท.
  8. ชาลิกา : (อิต.) เกราะ (เครื่องสวมใส่หรือหุ้ม สำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย) ชลฺ ทิตฺติอปวารเณสุ, ณฺวุ, อิอาคโม. ส. ชาลปฺรายา.
  9. ชีร : (นปุ.) มีดสำหรับใช้เครื่องบูชา, เมล็ด ผักชี, เมล็ดยี่หร่า. ส. ชีร.
  10. ชีวนมตฺต : (วิ.) สักว่าเป็นเครื่องเป็นอยู่.
  11. ชีวิตปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปของชีวิต, ปัจจัยของชีวิต.
  12. ชุหน : (นปุ.) การบูชา, เครื่องบูชา. หู หพฺย – ทาเน, ยุ. เทวภาวะ หู รัสสะ แปลง หุ เป็น ชุ ลบ อู ที่ตัวธาตุ.
  13. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  14. ญาณ : (ปุ. นปุ.) ความรู้, ปรีชา, ปัญญา. วิ. ชานนํ ญาณํ. ธรรมชาตเป็นเครื่องรู้ วิ. ชานาติ เอเตนาติ ญาณํ. ธรรมชาติผู้รู้ อริยสัจสี่ วิ. จตุสจฺจํ ชานาตีติ ญาณํ. ญา+ยุ ปัจ.
  15. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  16. ญายปฏิปนฺน : (วิ.) ถึงเฉพาะแล้วซึ่งธรรม เป็นเครื่องออกไป, ถึงเฉพาะแล้วซึ่ง ธรรมอันควร, ปฏิบัติควร, ปฏิบัติเพื่อ พระนิพพาน.
  17. เญยฺยธมฺม : (ปุ.) ธรรมที่พึงรู้, ธรรมที่ควรรู้. วัตถุเครื่องปิด, ฯลฯ, วัตถุสำหรับปิด, ฯลฯ ผ้า ฏิ ฏี วา อจฺฉาทเน, อ.
  18. : (ปุ.) เสียง, สำเนียง, เสียงร้อง. ฏี ปกฺขนฺทเน, อ. การปิด, การปกปิด, การกำบัง, เครื่องปิด, ฯลฯ ฏิ ฏี วา อจฺฉาทเน, อ. นก. ฏิ ฏี วา อากาสคมเน, อ.
  19. ฏงฺก : ป. สิ่ง, เครื่องมือสกัดหิน
  20. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  21. ฐานกรณ : (นปุ.) ที่ตั้งและวัตถุเป็นเครื่องทำ (ให้เกิดเสียงในการพูด).
  22. ตณฺหาคทฺทุล : ป. เครื่องผูกคือตัณหา
  23. ตณฺหาสโยชน : นป. เครื่องผูกมัดคือตัณหา
  24. ตโตนิทาน : (วิ.) มีทุกข์นั้นเป็นเหตุเครื่องมอบ ให้ซึ่งผล, มีการทำนั้นเป็นแดนมอบให้ซึ่ง ผล.
  25. ตถูปม : ค. มีอุปมาเช่นนั้น, มีอย่างนั้นเป็นเครื่องเปรียบ, เหมือนอย่างนั้น
  26. ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
  27. ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
  28. ตโปวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ทำซึ่งความเพียร เป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ป่าเป็นที่ บำเพ็ญพรต, วนะเป็นที่อยู่ของคนมีตบะ.
  29. ตรี : (ปุ. อิต.?) เครื่องนุ่งห่ม, ทางเดิน. ตรฺ ธารเณ, อี.
  30. ตาฏงฺก : (ปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู, ตุ้มหู ใหญ่. ส. ตาฏงฺก.
  31. ตาปส : (ปุ.) บรรพชิตผู้มีธรรมเครื่องยัง กิเลสให้เร่าร้อน ( ย่างกิเลสให้แห้ง ). ตปฺ สนฺตาเป, โณ. ลง สฺ และ อ อาคม หรือ ลง สกฺ ปัจ. ทีฆะ ลบ กฺ ส. ตาปส.
  32. ตาลวณฺฏ : (นปุ.) พัด ( เครื่องโบก หรือ กระพือลม ), พัดใบตาล. ตาลวณฺเฏหิ กตฺตตา ตาลวณฺฏํ.
  33. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  34. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  35. ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตวตฺถจฺฉาทนาทิปุณฺณ : (วิ.) อันเต็มแล้วด้วยวัตถุ มีงาและข้าว สารและเนยใสและน้ำอ้อยและวัตถุเป็น เครื่องปกปิด มีผ้าเป็นต้น.
  36. ตุตฺต : (นปุ.) เครื่องแทงโคนหูช้าง, ปฏัก, ประตัก. หตฺถิโน กณฺณมูลวิชฺฌนกณฺฏโก ตุตฺตํ. ตุทฺ วฺยถเน, โต, ทสฺส โต.
  37. ตุมฺพ : (ปุ.) ตุมพะ ชื่อมาตราตวง ชื่อของ เครื่องตวง ( อาฬหก), ทะนาน, คนโทน้ำ, หม้อน้ำ, จักจั่น ( เต้าน้ำ หรือภาชนะดิน รูปคล้ายน้ำเต้า ใช้ใส่น้ำเดินทาง). ตุมฺพฺ กมฺปเน, อ.
  38. ตุริย : (นปุ.) ดนตรี, เครื่องสาย, เครื่องดีดสีตีเป่า, หีบเสียง. กัจฯ และ รูปฯ เป็น ตูริย. ส. ตูร ตูรี.
  39. ตุริยงฺค : (นปุ.) เครื่องดีดสีตีเป่า. ตุริย+องฺค. เป็น ตุริยางฺค บ้าง.
  40. ตุลน : (นปุ.) การชั่ง, การวัด, ความเทียบ เคียง, ตราชู, ตราชั่ง, คันชั่ง, เครื่องชั่ง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ.
  41. เถยฺยจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบด้วยความเป็น แห่งขโมย, จิตประกอยด้วยความเป็น ขโมย, จิตเครื่องความเป็นขโมย, เถยยจิต ไถยจิต (จิตคิดจะลัก).
  42. ทณฺฑปริสฺสาวน : นป. เครื่องกรองน้ำมีหู, เครื่องกรองน้ำมีที่ถือ
  43. ทตฺติ : (อิต.) อันให้, การให้, เครื่องบูชา. ทา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ แปลง ติ เป็น ตฺติ หรือ ซ้อน ตฺ หรือลง ตฺติ ปัจ. ส. ทตฺติ.
  44. ทนฺตวิกติ : อิต. เครื่องงาต่างชนิด, สีต่างๆ ที่ทำด้วยงา
  45. ทพฺพสมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวมเครื่องใช้ต่างๆ (เพื่อก่อสร้าง), ทัพพสัมภาระ (เครื่องไม้ และสิ่งอื่นๆ ที่คุมกันเข้าเป็นเรือน เป็นต้น วัตถุสำหรับก่อสร้าง).
  46. ทพฺพสหาร : ป. การรวมวัตถุอันเป็นเนื้อหา, การรวบรวมอุปกรณ์อันเป็นเครื่องก่อสร้าง
  47. ทพฺพา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องจำกัดความชั่ว, ความดี. ทพฺพฺ หึสายํ, อ.
  48. ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
  49. ทสฺสิต : ๑. กิต. (อันเขา)แสดงแล้ว; ๒. ค. ผู้ (มีเครื่องแบบ) ปรากฏแล้ว, ผู้เตรียมเครื่องรบพร้อมสรรพแล้ว, ผู้สวมเกราะแล้ว
  50. ทาตฺต : (นปุ.) เคียว ชื่อเครื่องมือสำหรับเกี่ยว ข้าวหรือหญ้า วิ. ทนติ อเนนาติ ทาตฺตํ ทา ลเวนา, โต, ทฺวิตฺตํ. ทาติ วีหโย ฉินฺทติ อเนนาติ วา ทาตฺตํ. ทา อวขณฺฑเน. เป็นทาตฺร โดยลง ตฺรณฺ ปัจ. บ้าง. ส. ทาตฺร.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-723

(0.0586 sec)