Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่องนำทาง, เครื่อง, นำทาง , then ครอง, ครองนำทาง, เครื่อง, เครื่องนำทาง, นำทาง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่องนำทาง, 723 found, display 251-300
  1. นาฬิ : อิต. ทะนาน, เครื่องตวง; ลำต้น, กล้อง, หลอด
  2. นิกฺข : (ปุ. นปุ.) นิกขะชื่อมาตราเงิน๕สุวัณณะเป็น๑นิกขะ,ลิ่ม,แท่ง,ทอง,เครื่องประดับ,การจูบ,การจุมพิต.นิปุพฺโพ,กนฺทิตฺติคตติกนฺตีสุ,อ,นสฺสโข.ส.นิษฺก.
  3. นิคณฺฐ นิคฺคณฺฐ : (ปุ.) คนมีกิเลสพัวพัน วิ. จตูหิ คนฺเถหิ พนฺธนียตฺตา นิคณฺโฐ นิคฺคณฺโฐ วา. นิปุพฺโพ, คถิ พนฺธเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น นฺ เป็น คนฺถ แปลง นถฺ เป็น ณฺฐ. คนปราศจาก เครื่องผูกเครื่องร้อยรัด. นิคต+คณฺฐ. นิครนถ์ ชื่อนักบวชนอกพุทธศาสนา นักบวชของศาสนาเช่น.
  4. นิคมน : (นปุ.) คำเครื่องกล่าวซ้ำ, คำกล่าว ซ้ำ, การกล่าวตะล่อม, การตะล่อมความ, การออกไป. ส. นิคมน.
  5. นิคล : ป. เครื่องผูกตีนช้าง, โซ่ใส่ตีนช้าง, ปลอกตีนช้าง
  6. นิคล นิคฬ : (ปุ. นปุ.) เครื่องผูกเท้าช้างวิ.นิคลติพนฺธติอเนนาตินิคโลนิคโฬวา.นิปุพฺโพ,คลฺเสจเน,อ.
  7. นิจฺโจล : ค. ปราศจากเครื่องนุ่งห่ม, ผู้ไม่มีเสื้อผ้า, ผู้เปลือยกาย
  8. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  9. นิทาน : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องมอบให้ซึ่งผล, เหตุเป็นแดนมอบให้ซึ่งผล, เหตุอันเป็น มูลเค้า, เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, ต้นเหตุ, เรื่องเดิม, เรื่อง. วิ. นิทียเต นิจฺฉียเต อเนเนติ นิทานํ. นิทฺทาติ ผลนฺติ วา นิทานํ นิปุพฺโพ, ทา ทาเน, ย. ส. นิทาน.
  10. นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
  11. นิปญฺญวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ้งคำไร้ปัญญาโดย ปกติ, ฯลฯ, ผู้กล่าวซึ่งคำเครื่องยังทายก ให้ตกต่ำโดยปกติ.
  12. นิปฺปปญฺจ : ค. ซึ่งไม่มีความยุ่งยากหรือความเนิ่นช้า, ซึ่งปราศจากกิเลสเครื่องเนิ่นช้า
  13. นิปฺผาทก : ค. ผู้ผลิต, ผู้ประดิษฐ์, ผู้สร้างขึ้น, เครื่องผลิต
  14. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  15. นิพฺพานคามินี : (อิต.) ปฏิปทาเป็นเครื่อง ยังสัตว์ให้ถึงซึ่งพระนิพพาน. ข้อปฏิบัติ ให้สัตว์ถึงพระนิพพาน.
  16. นิยฺยาน : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องนำออก, ธรรม เครื่องนำออก. นิปุพฺโพ, ยา คติปาปุเณสุ. ยุ.
  17. นิยฺยานิก : (วิ.) อันนำออก, เป็นเครื่องนำออก เป็นที่นำออก (จากวัฏสงสาร).
  18. นิยฺยานิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องนำออก, ธรรมอันนำสัตว์ออกจากทุกข์. ธรรม อันนำสัตว์ออกจากวัฏสงสาร (ได้แก่ อริยมรรค ๔).
  19. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  20. นิรามิส : (วิ.) มีเหยื่อออกแล้ว, มีเหยื่อล่อออก แล้ว, มีเครื่องล่อออกแล้ว, มีวัตถุเครื่อง ล่อใจออกแล้ว, ไม่มีเหยื่อ, ฯลฯ, ปราศจาก เหยื่อ, ฯลฯ, หมดเหยื่อ, ฯลฯ, ไร้เหยื่อ, ฯลฯ. นิ+อามิส รฺ อาคม.
  21. นิรามิสุข : (นปุ.) สุขมีเหยื่อออกแล้ว, ฯลฯ, นิรามิสุข สุขไม่มีอามิสคือเป็นสุขอยู่เอง. ไม่ต้องมีสิ่งใดเป็นเครื่องล่อใจ เป็นสุขของ พระอรหันต์.
  22. นิรุตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องนำออก, ภาษา, คำพูด. ติปัจ.
  23. นิวรณ : (ปุ.) การห้าม, การกั้น, การขัดขวาง, เครื่องห้าม, เครื่องกั้น, เครื่องขัดขวาง, กิเลสอันกั้นจิตไม่ให้บรรจุความดี, ธรรม อันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี, นิวรณ์, นีวรณ์. นิยยานวรณฏฺเฐน นิวารณา นีวารณา วา. ชื่อว่า นิวรณ์ เพราะอรรถ ว่าเป็นเครื่องกั้นธรรมเครื่องนำออก. ไตร. เป็น นปุ. บ้าง. ฌานาทิกํ ทิวาเรนฺตีติ นิวารณาทิ.
  24. นูปุร : นป. เครื่องประดับเท้า
  25. ปจฺจตฺถรณ : นป. การปูลาด, เครื่องปูเครื่องลาด
  26. ปจฺจย : ป. เหตุ, เครื่องอาศัย
  27. ปฏล : นป. เครื่องมุง, เครื่องหุ้ม, เยื่อหุ้ม, ซองจดหมาย, หลังคา, เพดาน
  28. ปฏลิกา : อิต. เครื่องปกปิดคลุมด้วยดอกไม้
  29. ปฏิคฺคห : ป. การรับ, ผู้รับ, การต้อนรับ, เครื่องรองรับ, กระโถน; ปลอกสวมนิ้วมือเมื่อเย็บจีวร
  30. ปฏิจฺฉท : ป. เครื่องปกปิด, เครื่องบัง, เครื่องมุง
  31. ปฏิจฺฉาท : ป. การปกปิด, การปิดบัง, การซ่อนเร้น, การอำพราง, การล่อลวง, เครื่องปกปิด, เครื่องนุ่งห่ม, การนุ่งห่ม
  32. ปฏิจฺฉาที : อิต. เครื่องปกปิด, เครื่องป้องกัน, ผ้าปิด (ฝี), ยาพอกเพื่อถอนพิษ
  33. ปฏิภู : ป. ผู้ค้ำประกัน, เครื่องประกัน
  34. ปฏิมนฺตก : ป. ผู้พูดโต้ตอบ, คู่สนทนา; ผู้มีปัญญาเครื่องคิดอ่าน, ผู้รู้จักคิด
  35. ปฏิโมกฺข : ป. การชะแผล; การผูกมัด, เครื่องผูกมัด, ข้อผูกมัด
  36. ปณฺณตฺติก : ค. ซึ่งมีบัญญัติ, ซึ่งมีเครื่องสำแดงให้ปรากฏ, ซึ่งปรากฏชื่อ
  37. ปณฺณธาร : ป. เครื่องรองทำด้วยใบไม้
  38. ปณฺณสญฺญา : อิต. เครื่องกำหนดหมายคือใบไม้, เครื่องหมายทำด้วยใบไม้
  39. ปณฺณสนฺถาร : ป., ค. เครื่องลาดทำด้วยใบไม้; ซึ่งลาดด้วยใบไม้
  40. ปตฺถร : (นปุ.) การลาด, การปู, เครื่องลาด, เครื่องปู, ที่นอน. ปปุพฺโพ. ถรฺ สนฺถรเณ, อ.
  41. ปโตท : ป. ประตัก, เครื่องแทง, ขอสับ (ช้าง) ; เดือย, เดือยไก่
  42. ปทารณ : นป. เครื่องทำลาย, การทำลาย, การทำให้แตกออก
  43. ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
  44. ปปญฺจ : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความยืดยาว, ความซึมซาบ, ความเนิ่นช้า, ความเยิ่นเย้อ, ความนาน, ความเนิ่นนาน, ความขัดข้อง, กาลช้า, กาลเนิ่นช้า, ความแพร่หลาย ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ ให้เนิ่นช้า. วิ. ปปญฺจียเตติ ปปญฺโจ. ปปุพฺโพ, ปจิ วิตฺถาเร, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  45. ปปญฺจธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ เนิ่นช้า. ปปัญจธรรม ได้แก่ ตัณหา มานะ และทิฎฐิ ( ความเห็นผิด ) เพราะทำ สังสารวัฎให้ยืดยาว.
  46. ปปญฺจสงฺขา : อิต. ธรรมที่นับว่าเป็นเครื่องทำให้เนิ่นช้า, ธรรมที่เป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้า, เครื่องหมายแห่งความลุ่มหลง
  47. ปมาณกต : ค. ที่เขาทำให้เป็นประมาณ, ถือเอาเป็นมาตรฐาน, วางเป็นตัวอย่าง, เป็นเครื่องวัด
  48. ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  49. ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
  50. ปรมวิสุทฺธสทฺธาพุทฺธิวิริยปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ผู้ประดับประดาแล้วด้วยศรัทธาและปัญญา เป็นเครื่องตรัสรู้และความเพียรอันหมดจด อย่างยิ่ง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-723

(0.0673 sec)