Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เชาวน์ปัญญา, เชาวน์, ปัญญา , then ชาวนปญญา, เชาวน์, เชาวน์ปัญญา, บัญญา, เบญญา, ปญญา, ปญฺญา, ปัญญะ, ปัญญา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เชาวน์ปัญญา, 143 found, display 101-143
  1. สปฺปญฺญ : (ปุ.) คนมีปัญญา วิ. สุนฺทรา ปฺญฺญาย วตฺตตีติ วา สปฺปญฺโฺญ.
  2. สมฺโพธา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้.
  3. สมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาชื่อสมโพธิ, ความตรัสรู้โดยชอบ, ความตรัสรู้เอง, ความตรัสรู้พร้อม, ความตรัสรู้, อิ ปัจ.
  4. สมฺโพธิยงฺค : (นปุ.) องค์แห่งปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ. สมโพธิ+องค ยฺ อาคม.
  5. สมฺมปฺปญฺญา : (อิต.) ปัญญาชอบ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม. ปัญญาโดยชอบ. เป็น ต. ตัป.
  6. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  7. สมฺมาสมฺโพธิ : (อิต.) ความตรัสรู้เองโดยชอบ, ความตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, อนาวรณญาณ. อนาวรณญฺญาณํ สมฺมาสมฺโพธิ.
  8. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  9. สุธี : (ปุ.) คนมีปัญญา, นักปราชญ์, บัณฑิต. วิ. โสภนํ ฌายตีติ สุธี. โสภณปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, อี, ฌสฺส โธ. ลบ ภน เหลือ โส แปลง โอ เป็น อุ. สุนฺทรา ธี อสฺสาติ วา สุธี. ส. สุธี.
  10. สุเมธ : (ปุ.) คนมีปัญญาดี, นักปราชญ์, สุเมธะ ชื่อฤาษีตนหนึ่ง, พระสุเมธะ พระนามของพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง.
  11. สุเมธา : (อิต.) ปัญญาดี, ความรู้ดี, ปรีชาดี.
  12. สุเมร : ค. มีปัญญาดี
  13. สูริ สูรี : (วิ.) มีปัญญากล้า.
  14. อธิปญฺญา : (อิต.) คุณชาติอันอาศัยซึ่งปัญญาเป็นไป, คุณชาติอันเป็นไปอาศัยซึ่งปัญญา, ปัญญายิ่ง, ปัญญาอย่างสูง, อธิปัญญา.ชื่อของปัญญามีกำลังกำจัดกิเลสได้เด็ดขาดได้แก่มัคคปัญญา.
  15. อธิปญฺา : (อิต.) คุณชาติอันอาศัยซึ่งปัญญาเป็น ไป, คุณชาติอันเป็นไปอาศัยซึ่งปัญญา, ปัญ ญายิ่ง, ปัญญาอย่างสูง, อธิปัญญา. ชื่อของ ปัญญามีกำลังกำจัดกิเลสได้เด็ดขาด ได้แก่ มัคคปัญญา.
  16. อนฺธพาล : (ปุ.) คนโง่, คนโง่ทึบ, คนโง่เพียงดังคนตาบอด, คนโง่อย่างตาบอด, คนปัญญาโง่ทึบ, คนอันธพาล, อันธพาล (คนเกะกะระราน).
  17. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  18. อปญฺญก : ค. ไม่มีปัญญา, โง่
  19. อภิสมฺพุทฺธ : (วิ.) ผู้รู้พร้อมแล้วด้วยปัญญาอันยิ่งผู้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง.
  20. อภิสมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้ยิ่ง, ความตรัสรู้พร้อมยิ่ง, ความรู้พร้อมยิ่ง, ความรู้พร้อมด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้เองด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความรู้เองด้วยปัญญาอันยิ่ง.
  21. อมฺพก : ๑. ป. มะม่วงเล็ก ; ๒. ค. ด้อย, โง่, มีปัญญาทราม
  22. อวิภาวี : ค. ผู้ไม่มีปัญญาแจ่มแจ้ง
  23. อเวกฺขน : นป. การเห็นชัด, การดูด้วยปัญญา
  24. อเวจฺจ : ๑. กิต. หยั่งลงด้วยปัญญา, หยั่งรู้แล้ว ; ๒. ค. แน่ชัด ; ไม่หวั่นไหว, สมบูรณ์, มั่นคง
  25. อสมตฺถปญฺญ : ค. มีปัญญาที่ยังไม่สามารถ คือยังมีปัญญาไม่แก่กล้า
  26. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  27. อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
  28. อุคฺฆฏิต : ค. ถูกยกขึ้น, ฉลาด, มีปัญญา
  29. อุคฺฆฏิตญฺญู : ค. ผู้พอยกขึ้นแสดงก็รู้ทันที, ผู้มีปัญญาเฉียบแหลม
  30. อุทยพฺพยานุปสฺสนญาณ อุทยพฺพยานุปสฺสนาญาณ : (นปุ.) ญาณพิจารณาเห็นทั้งความเกิดทั้งตามดับ, ปรีชาคำนึงเห็นทั้งความเกิดทั้ง ความดับ, ปรีชาคำนึงเห็นความเกิดและ ความดับ, ปัญญาพิจารณาเห็นความเกิด และความดับ.
  31. อุปปริกฺขา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องเข้าไปเห็น.
  32. อุปลกฺขณา : อิต. การเข้าไปกำหนดหมาย, ปัญญาเครื่องกำหนดความแตกต่าง
  33. อุภโตภาควิมุตฺต : ค. ผู้หลุดพ้นแล้วโดยส่วนสอง คือโดยเจโตวิมุติและปัญญาวิมุติ
  34. อุมงฺค : ป. ปัญญา; ถ้ำ
  35. ปญฺญาปก : ป. ผู้ชี้ทาง, ผู้แนะนำ
  36. ปญฺญาปน : นป. การประกาศให้รู้, การปูลาด
  37. ปญฺญาเปติ : ก. บัญญัติ, ตั้งกฎ, ให้รู้, ประกาศ, ปูลาด
  38. ปญฺญายติ : ก. ปรากฏ, ประกาศ
  39. กากปญฺญา : อิต. ความฉลาดเยี่ยงกา, ความฉลาดแกมโกง
  40. ชมฺพุทีป : (ปุ.) ชมพูทวีป ชื่อมหาทวีป ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ชมฺพุยา ปญฺญาโต ลกฺขิโต ทีโป ชมฺพุทีโป. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๓๖ เป็นชมพูทีป. ส. ชมฺพุทฺวีป.
  41. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  42. ภูริปญฺญ ภูริปฺปญฺญ : (ปุ.) ภู-ริปัญญะ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม.
  43. 1-50 | 51-100 | [101-143]

(0.0399 sec)